การบัญชีภาครัฐ

Public Sector Accounting

1.1 เข้าใจความหมาย วัตถุประสงค์ แนวคิดและพัฒนาการด้านการบัญชีของหน่วยงานภาครัฐ     1.2 เข้าใจระบบการบริหารงบประมาณ     1.3 เข้าใจนโยบายการบัญชี การจัดทำบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ     1.4 เข้าใจระบบบริหารการเงินการคลังแบบอิเล็กทรอนิกส์     1.5 มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรายวิชาการบัญชีภาครัฐ
 
หลักสูตรบัญชีบัณฑิตหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 ที่ใช้ในปัจจุบันจำเป็นต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาวิชาการบัญชีพ.ศ. 2562 ซึ่งมุ่งเน้นผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับวิชาชีพบัญชีซึ่งเป็น Learning outcome Base และสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาคือบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย วัตถุประสงค์ แนวคิดและพัฒนาการด้านการบัญชีของหน่วยงานภาครัฐ ระบบการบริหารงบประมาณ นโยบายการบัญชี การจัดทำบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ และระบบบริหารการเงินการคลังแบบอิเล็กทรอนิกส์
1
1. มีความรู้และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี
2. สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
3. แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์สุจริตเที่ยงธรรมระมัดระวังรอบคอบในการทำงานและมีความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม
1. สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีในเนื้อหาวิชาเรียน
2. ให้ความสำคัญในการมีวินัยการตรงต่อเวลาและการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
3. เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตากรุณาความเสียสละและการทำประโยชน์ให้แก่ชุมชน
4. การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
1. ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ทำงานทันตามกำหนดและความพร้อมเพรียงในการเข้าร่วมกิจกรรม 2. ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ 3.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
 
1. มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะการปฏิบัติด้านการบัญชีเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2. มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
3. มีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสาระสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
4. มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพบัญชี
1. ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบตามลักษณะของเนื้อหาวิชาโดยเน้นแนวคิดหลักการทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้เช่นการสอนแบบบรรยายและอภิปรายการยกตัวอย่างการถามตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียนการสอนแบบสาธิตการสอนแบบใช้สถานการณ์จำลองการสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
2. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานหรือโครงการ
3. การเรียนรู้จากสถานการณ์จริงการฝึกงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรมและการศึกษาดูงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรม
4. การบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมและงานวิจัยโดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับนักศึกษา
1. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงานการค้นคว้าและการนำเสนอ
2. ประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือการสอบปฏิบัติ
3. ประเมนผลการเรียนรู้โดยผู้ประกอบการจากสถานการณ์จริงหรือการฝึกงานในองค์กรธุรกิจ
4. การประเมินความรู้ของบัณฑิตโดยการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต
5. การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการการบริการวิชาการการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการผ่านการสะท้อนความคิดของนักศึกษาหรือการเขียนรายงานจากประสบการณ์หรือวิธีการอื่น ๆ
1. มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพการประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
2. มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3. มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
4. มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กรและสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
 1. ส่งเสริมการเรียนรู้และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้นตามระดับชั้นการศึกษาโดยใช้โจทย์แบบฝึกหัดโจทย์ปัญหากรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง 
2. จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะและชาวปัญญาความคิดการวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆทั้งในสาขาและนอกสาขา
3. สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเปิดโอกาสให้นักศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียนรวมทั้งอภิปรายแสดงความเห็นได้มากขึ้น
4. การบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการการทำนุบำรุงศิลป์วัฒนธรรมและงานวิจัยโดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับนักศึกษา
 
1. ประเมินผลจากการแก้โจทย์แบบฝึกหัดโจทย์ปัญหา กรณีศึกษาหรือสถานกาณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา
3. ประเมินจากรายงานผลการศึกษา ค้นคว้ารายงานทางเอกสารและการนำเสนอหน้าชั้นเรียนรวมทั้งผลการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
4. การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการการบริการวิชาการการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการผ่านการสะท้อนความคิดของนักศึกษาหรือการเขียนรายงานจากประสบกาณ์หรือวิธีการอื่น ๆ
1. มีความอดทนความรับผิดชอบทักษะทางสังคมและจิตสาธารณะสามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆวัฒนธรรมองค์กรและการทำงานร่วมกับผู้อื่น
2. มีหลักคิดและวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบสามารถทำงานให้สำเร็จตามเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
3. มีความคิดสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
1. มอบหมายงานให้ทำงานร่วมกันเป็นทีมเช่นทำโครงงานแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาการค้นคว้าอิสระกระทำวิจัยโดยมีการสนับสนุนหมุนเวียนการเป็นผู้นำการเป็นสมาชิกทีม
 2. มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3. ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่างๆ
4. การบูรณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมและงานวิจัยโดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับนักศึกษา
 
1. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
2. ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเดือนในกลุ่มประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน
3. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
4. การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการการบริการวิชาการการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการฝ่านการสะท้อนความคิดของนักศึกษาหรือการเขียนรายงานจากประสบการณ์หรือวิธีการอื่น ๆ 
 
1. มีความสามารถในการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพรวมทั้งการใช้ความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคในการวางแผนงานการควบคุมการประเมินผล และการรายงานผลได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
2. มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีโดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบันเพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ
3 มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียนโดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
1. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข
2. มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ
3. ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียนและนำเสนอในรูปแบบรายงานมอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในห้องเรียนในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
4. การบูรณาการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมและงานวิจัยโดยกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับนักศึกษา
1. ประเมินจากผลงานกิจกรรมที่เกี่ยวข้องเชิงสถิติและคณิตศาสตร์
2. ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและนำเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
3. ประเมินจากการสอบข้อเขียน
4. ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
5. การถ่ายทอดบทเรียนผลการเรียนรู้ที่ได้จากการบูรณาการการบริการวิชาการการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและงานวิจัยโดยถ่ายทอดความรู้ผ่านนิทรรศการผ่านการสะท้อนความคิดของนักศึกษาหรือการเรียนรายงานถอดประสบการณ์หรือวิธีการอื่น ๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คณุธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BACAC153 การบัญชีภาครัฐ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 1.2 1.3 1. ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา 2. ประเมินจากการทำงานทันตามกำหนด 3. ประเมินจากความพร้อมเพรียงของการเข้าร่วมกิจกรรม 4.ประเมินการทุจริตในการสอบ ตลอด ภาค การศึกษา 4%
2 2.1 2.2 2.3 2.4 ประเมินจากการสอบข้อเขียนหรือการสอบปฏิบัติการสอบกลางภาคและปลายภาค การสอบกลางภาค และ ปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 /18 82%
3 3.1 3.2 3.3 3.4 ประเมินจากรายงานหน้าชั้นเรียน และสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน ตลอด ภาค การศึกษา 8%
4 4.1 4.2 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี งานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน ตลอด ภาค การศึกษา 3%
5 5.2 5.3 ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและนำเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการนำเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ตลอด ภาค การศึกษา 3%
เวปไซด์กรมบัญชีกลาง   https://www.cgd.go.th/cs/internet/internet/edas.html?page_locale=th_TH 
1. พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560,24/02/2560 [พระราชบัญญัติ] รายละเอียด แฟ้มแนบ 2. พระราชบัญญัติ วินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑,16/04/2561
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ทุกภาคการศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  ผลการสอบทั้งกลางภาคและปลายภาคเรียนของนักศึกษา
2.2  การทบทวนผลการประเมิน เช่น การทดสอบย่อย
2.3  จากการตรวจแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1  ปรับปรุงจุดบกพร่องในการสอนตามผลการประเมินของนักศึกษา
3.2  ปรับปรุงการสอนโดยประเมินจากผลการสอบและการวิเคราะห์ปัญหา การทำกรณีศึกษา
 4.1  ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
 4.2  ตรวจสอบความตรงประเด็นของข้อสอบกับมาตรฐานผลการเรียนของสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้นำไปใช้ในการเรียน การทำแบบฝึกหัดหรือในการประกอบอาชีพต่อไป
5.3 ปรับเปลี่ยนตารางสอน เพิ่มการสอนเสริม ตามที่นักศึกษาต้องการ