พลังงานทดแทน

Renewable Energy

1.1 รู้และเข้าใจเห็นความสำคัญของพลังงานทดแทน 1.2 รู้และเข้าใจปรากกฎการณ์หรือวัฎจักรของการเกิดพลังงาน 1.3 รู้และเข้าใจแนวนโยบายและปัจจัยสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน 1.4 รู้และเข้าใจเทคโนโลยีพลังงานต่าง ๆ ได้แก่ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ พลังงานชีวมวล พลังงานขยะพลังงานคลื่น พลังงานเซลล์เชื้อเพลิง 1.5 รู้และเข้าใจระบบสำรองพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่นความร้อน ความเย็น แบตเตอร์รี่ 1.6 ศึกษาและวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ของพลังงานทดแทน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีทดแทน ให้ ก้าวทันกับการเทคโนโลยีที่นำมาใช้พลิตเป็นพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานในอนาคตได้เป็นอย่างดี
ศึกษาเกี่ยวกับระบบพลังงานและแหล่งพลังงานทดแทน ศักยภาพพลังงานทดแทนความแตกต่างของเทคโนโลยีพลังงานดั้งเดิมและพลังงานทดแทน เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานก๊าซชีวภาพ พลังงานน้ำ พลังงานขยะ พลังงานคลื่นเซลล์เชื้อเพลิง ระบบสำรองพลังงาน กฎหมาย ระเบียบและนโยบายด้านพลังงานทดแทน เศรษศาสตร์พลังงาน
 
ตามความต้องการของผู้เรียน
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 1.2.2 นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้น ต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรก เรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมี การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวมเสียสละ  
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรมเน้นให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลาต่องานที่ได้รับมอบหมาย 1.3.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง สังคม คุณธรรมและจริยธรรมและปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1.3.3 การจัดการความรู้โดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันผ่านกลไกการอภิปรายกลุ่มประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ศึกษาเกี่ยวกับระบบพลังงานและแหล่งพลังงานทดแทน ศักยภาพพลังงานทดแทนความแตกต่างของเทคโนโลยีพลังงานดั้งเดิมและพลังงานทดแทน เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานก๊าซชีวภาพ พลังงานน้ำ พลังงานขยะ พลังงานคลื่นเซลล์เชื้อเพลิง ระบบสำรองพลังงาน กฎหมาย ระเบียบและนโยบายด้านพลังงานทดแทน เศรษศาสตร์พลังงาน
บรรยาย  อภิปราย การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ  ให้นักศึกษามีการค้นคว้าเพิ่มเติม เรียนรู้ด้วยตนเองจากข้อมูลของหน่วยงานรัฐบาล จากเว็บไซต์ต่าง ๆ  และเอกสารประกอบต่าง ๆ  เพื่อให้นักศึกษาสามารถสรุปวิเคราะห์เป็นรายงานด้วยตนเองได้  ทำรายงานเดี่ยว  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1  สอบกลางภาค                                           2.3.2  สอบปลายภาค                                                  2.3.3  กิจกรรม  แบบทดสอบ และนำเสนอและจัดทำรายงาน       2.3.4  กิจกรรม  ศึกษาดูงาน หรือสถานประกอบการจริง
พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลรอบด้าน เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการนำเอาพลังงานทดแทนมาใช้เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสังคม ชุมชน
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำรายงานเกี่ยวกับพลังงานทดแทนในรูปแบบต่างๆ 3.2.2   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ผลกระทบ ข้อดีและข้อเสีย จากพลังงานทดแทนชนิดต่าง ๆ 3.2.3   การสรุปและสะท้อนแนวคิดต่าง ๆ ที่หลากหลาย
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์  3.3.2  วัดผลจากการทำรายงานเดี่ยว
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีส่วนร่วมอภิปราย 4.2.2   ถาม ตอบ และมอบหมายงานรายกลุ่มหรือรายบุคคล เช่น ผลกระทบโรงไฟฟ้าแม่เมาะ  เขื่อนปากมูล             อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา 4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1  คะแนนจากกิจกรรม แบบทดสอบในชั้นเรียน 4.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในกระดานเสวนา 4.3.3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข โดยใช้แบบทดสอบ สูตรการคำนวณต่าง ๆ 5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอใน             ชั้นเรียน  5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา จากกการค้นคว้าข่าวสารต่าง ๆ 5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารในการเสริมการสอน และกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน  เช่นกระดานเสวนา 5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข มีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่นเว็ปไซต์องค์กรของรัฐบาล 5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย หรือกระดานเสวนา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 5 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1
1 ENGEE134 พลังงานทดแทน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3-4 บทที่ 5 บทที่ 6 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (ระบบพลังงานและแหล่งพลังงานทดแทน ศักยภาพพลังงานทดแทน ความแตกต่างของเทคโนโลยีพลังงานดั้งเดิมและพลังงานทดแทน) สอบกลางภาค (เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพ) สอบปลายภาค (พลังงานก๊าซชีวภาพ พลังงานน้ำ พลังงานขยะ พลังงานคลื่น เซลล์เช้อเพลิง ระบบสำรองพลังงาน) ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (กฎหมาย ระเบียบและนโยบายด้านพลังงานทดแทน เศรษฐศาสตร์พลังงาน) 4 7 9 13 15 17 5 % 7 % 18 % 7 % 8 % 25 %
2 บทที่ 2 บทที่ 5-6 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ทุกบท การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
- เอกสารเผยแพร่ความรู้ด้านพลังงานทดแทนจากองค์กรภาครัฐและเอกชนทั้งในละต่างประเทศ
ไม่มี
การสืบค้นสื่อออนไลน์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะค้นคว้าเพิ่มเติมผ่านการเขียนลงในกระดาษ 1.4 ประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา ผ่านระบบไอทีของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียน การร่วมกิจกรรม ผลแบบทดสอบ ผลการสอบของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 อาจารย์ผู้สอนศึกษาดูงานโรงไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ เพื่อนาประสบการณ์จริงถ่ายทอดให้แก่นักศึกษา