มาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

Standard of Aquaculture

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบ และการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการผลิตสัตว์น้ำ 1.2 รู้และเข้าใจมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 1.3 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการประมงที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 1.4 ตระหนักถึงความสำคัญของการกำหนดมาตรฐานกระบวนการผลิต ผลผลิต และผลิตภัณฑ์ประมง
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสัตว์น้ำ การปฏิบัติทางการประมงที่ดีสำหรับฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่นำไปสู่การกำหนดมาตรฐานกระบวนการผลิต ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ประมงที่ดี
1 ชั่วโมง
1.1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดี และคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 1.1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสัมคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา แต่งกายให้เป็นไปตามระเบียบ นักศึกษาต้องมีความรับผิดดชอบ มีความซื่อสัตย์โดยไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านผู้อื่น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม และจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยอกย่องนักศึกษาที่ทำความดี และทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและมีความเสียสละ เป็นต้น
1. ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด และร่วมกิจกรรมที่กำหนด 2. ประเมินความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ 3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4. ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ
2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการและทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง 2.1.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
ทำการสอนโดยใช้วิธีการค้นคว้าหาข้อมูลที่ทันสมัยจากเวปไซต์ตามเนื้อหาสาระของรายวิชาแล้วนำเสนองาน พร้อมกับอภิปรายและเสนอแนะจากอาจารย์ผู้สอน พร้อมซักถามความเข้าใจจากนักศึกษา
1.การทดสอบย่อย 2.การสอบกลางภาคและปลายภาค 3.ประเมินจากการนำเสนองานในชั้นเรียน
 
3.1.1สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.1.2สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3.1.3ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึงแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีการและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูล และใช้ความรู้แก้ไขโจทย์ปัญหา
1.ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2.การทดสอบ
 
4.1.1มีภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทนละ หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัยและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 4.1.2มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณะสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานเป็นทีม โดยจับกลุ่มค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลเพื่อการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
การสังเกตจากพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1.1มีทักษะการสื่อสาร หมายถึงความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียนเพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการให้ภาษาอังกฤษในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน 5.1.2มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนโดยให้นักศึกษาได้มีการค้นคว้าข้อมูลที่ทันสมัยจากเวบไซต์ต่างๆ แล้วนำมานำเสนองาน เปิดโอกาสให้ผู้สอนและผู้ร่วมชั้นเรียนได้มีการซักถามและอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
6.1.1มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึงมีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2 บันทึกการเข้าเรียนและการแต่งกายให้ถูกระเบียบวินัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1,3.1.2 การตอบปัญหาในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 2.1.1 การทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2, 3.1.3 การสอบกลางภาค 9 20%
5 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2, 3.1.3 การสอบปลายภาค 17 20%
6 4.1.1, 5.1.1, 5.1.2 การนำเสนองาน 10-16 30%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร, กรุงเทพฯ. 185 น.
2.เกรียงศักดิ์ เม่งอำพัน.2539.หลักการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. เอกสารประกอบการสอนวิชา พล.301 หลัก การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. ภาควิชาเทคโนโลยีการประมง คณะผลิตกรรมการเกษตร, สถาบัน เทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้. 210 น. 3.คเชนทร เฉลิมวัฒน์. 2544. การเพาะเลี้ยงหอย. พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์รั้วเขียว, กรุงเทพฯ. 253 น. 4.นฤมล อัศวเกศมณี. 2549. การเลี้ยงปลาน้ำจืด :โครงการตำราวิชาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติฯ. คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, สงขลา. 168 น. 5.ภาณุ เทวรัตน์มณีกุล, สุจินต์ หนูขวัญ และวีระวัชรกรโยธิน. 2545. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด. www.fisheries.go.th
 
-
เวปไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ ๑.๑ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ๑.๒ การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน ๑.๓ แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ ๒.๑ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน การตอบสนอง การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ๒.๒ ผลการเรียนของนักศึกษา ๒.๓ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาทุกภาคการศึกษา เฉพาะในรายวิชาที่มีปัญหาให้มีการทำวิจัยในชั้นเรียนมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ คณะมีระบบการทบทวนประสิทธิผลรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผล ของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรทุก ๕ ปี