ศิลปะการใช้ชีวิต

Art of Living

1.  เข้าใจวิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต        2.  สามารถรู้และเข้าตนเอง        3.  พัฒนาบุคลิกภาพและการปรับตัว         4.  วิเคราะห์พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่         5.  ออกแบบแนวคิดการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต กระบวนการพัฒนาปัญญาเพื่อแก้ไขปัญหาในชีวิต ประจำวัน ความสามารถในการแสวงหาความสุขอย่างยั่งยืน การฝึกสมอง การจัดการอารมณ์ การเข้าใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง บุคลิกภาพและการปรับตัว การต่อต้านการทุจริต พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับกรณีศึกษา
 - อาจารย์ประจำรายวิชาให้นักศึกษาติดต่อโดยตรงและให้ติดต่อผ่านทาง e-mail เพื่อให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน และสื่อสาร นัดหมายงานต่าง ๆ โดยเฉลี่ย 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์      - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง  (เฉพาะรายที่ต้องการ
พัฒนาผู้เรียน โดยมีคุณสมบัติดังนี้                1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม                2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ                3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม                4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  แก้ไข
- บรรยายพร้อมซักถาม   - อภิปรายกลุ่ม   - รายงานกลุ่ม/นำเสนอผลงาน   - วิจารณ์   - กรณีศึกษา   -  ฝึกปฏิบัติ   -  ใช้สื่อการสอน เช่น power-point , Clip , วีดีทัศน์ และอื่น ๆ
- เข้าเรียนตรงเวลา  - ส่งงานตามที่กำหนด  - มีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน  - ประเมินผลจากการอภิปรายกลุ่ม การแสดงบทบาทสมมติของนักศึกษา  - ประเมินจากการนำเสนอโดยใช้โปรแกรม Power point  - ประเมินจากรูปเล่มรายงานที่ถูกต้องตามระบบการเขียนรายงานและต้องมีเอกสารอ้างอิงอย่างน้อย     5 เล่ม
2.1   มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา       2.2   สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยายการเรียนรู้จากการทำงาน การเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง การทำงานกลุ่ม       การนำเสนอหน้าชั้น การอภิปรายกลุ่ม  การวิเคราะห์  การฝึกปฏิบัติ   ตามหัวข้อที่เรียน พร้อมทั้งใช้         สื่อจาก  www ,  Clips  และสื่อ IT  อื่น ๆ โดยเน้นการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน        (Student Center) และการเรียนโดยการแก้ปัญหา (Problem base Learning)
-  ทดสอบย่อยเป็นรายหน่วย   -  การนำเสนอในชั้นเรียน   -  วิเคราะห์แนวคิดจากกรณีศึกษา   -  วิเคราะห์ในชั้นเรียน
3.1.1  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ                 3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-  ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทำงานและนำเสนอผลงาน โดยส่งรูปเล่มรายงาน          ก่อนรายงาน 1 สัปดาห์ และนำเสนอรายงานในรูป Power point      -  ให้นักศึกษาดู Clip แล้วร่วมวิพากษ์ วิเคราะห์เชิงสร้างสรรค์      -  กรณีศึกษา      -  การสะท้อนแนวคิดจากความประพฤติและการเปลี่ยนแปลงเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์
-  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา  -  วัดผลจากการประเมินการนำเสนอรายงานการศึกษาด้วยตนเองในภาพรวม พร้อมข้อคิดเห็นที่ได้รับ  -  การทำงานเป็นทีมและการมีส่วนร่วมของนักศึกษา  - รูปเล่มรายงาน ถูกต้องตามระบบการเขียนรายงาน เนื้อหาครบถ้วน  - สอบกลางภาคและการสอบปลายภาค
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ                4.1.3   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม                4.1.4   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   จัดการสอนแบบกิจกรรมกลุ่ม  4.2.2   กำหนดปฎิทินเวลานำเสนอ  4.2.3   ผู้สอนและนักศึกษาช่วยกันเสริมเนื้อหาให้ครบถ้วน โดยใช้ Power point ของผู้สอนสรุป เพื่อเพิ่มเนื้อหาให้ครอบคลุม  4.2.4  ประเมินตนเอง ประเมินผู้อื่น ตามแบบสอบถามที่ผู้สอนกำหนด พร้อมนำข้อบกพร่องมาปรับแก้  4.2.5  วิเคราะห์แนวคิดจากกรณีศึกษา 
4.3.1  ให้เพื่อนนักศึกษาช่วยกันประเมินตามแบบประเมินการนำเสนอ  4.3.2  ครูประเมินตามแบบการนำเสนอ  4.3.3  สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน  4.3.4  แบบฝึกหัด
5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1  ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเนื้อหาเพิ่มเติมจากเว็บไซค์ หรือสื่ออื่น ๆ เช่น CD, VCD, วีดีทัศน์ เทปเสียง, โทรทัศน์      5.2.2   การนำเสนอรายงานทุกครั้งให้ใช้ Computer และ Power point  และ/หรือ clips
5.3.1   ดูจากการทำ Power point นำเสนอผลงาน         5.3.2   จากการใช้ Internet สืบค้นข้อมูล  5.3.3   จากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย เทคนิคการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 2 3 1 1 2
1 GEBIN103 ศิลปะการใช้ชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,2.1,3.2 ศึกษากรณีตัวอย่างเรื่องคุณธรรมจริยธรรมและนำเสนอหน้าชั้นเรียน สัปดาห์ที่ 1 - 2 15%
2 2.1,4.1 ฝึกปฏิบัติมารยาทไทย สัปดาห์ที่ 6-8 15%
3 1.3,2.1,3.2 ศึกษากรณีตัวอย่างปัญหาสังคมและการนำเสนอปัญหาสังคมไทย สัปดาห์ที่ 10-12 10%
4 2.1,3.2,4.1 ศึกษากรณีศึกษาพฤติกรรมสังคมสมัยใหม่และนำเสนอพฤติกรรมสังคมสมัยใหม่ สัปดาห์ที่ 13-14 10%
5 2.1,4.1,5.1 นำเสนอกรณีศึกษาการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข สัปดาห์ที่ 15 20%
6 1.3,2.1,3.2,5.1 กิจกรรมจิตอาสาบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม สัปดาห์ที่ 16 20%
7 1.3,4.1 พฤติกรรมในชั้นเรียน จิตพิสัย การมีส่วนร่วมอภิปราย ตลอดภาคการศึกษา 10%
พรทิพย์ เย็นจะบกและคณะ. ศิลปะการดำเนินชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ , 2553. 
เว็บไซค์ที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิต  Clips จาก You Tube, วีดิทัศน์, โทรทัศ
การประเมินผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษา                     1.1  นักศึกษาเป็นผู้ทำแบบประเมินการนำเสนอ              1.2  นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้                      2.1  สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเรียนในการอภิปรายกลุ่มใหญ่                      2.2  สังเกตจากการทำกิจกรรมในชั้นเรียน                      2.3  ประเมินจากผลการนำเสนอ                      2.4  ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
การปรับปรุงการสอนวิชานี้ คือ                       3.1  แก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัย ทันเหตุการณ์เสมอ ยกตัวอย่างกรณีศึกษาให้ทันสมัยโดยเฉพาะข่าวสารที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน                       3.2  ให้นักศึกษาเพิ่มเติมในสิ่งที่ต้องการเรียนรู้                       3.3  ทำวิจัยนอกชั้นเรียน  แก้ไข
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม ผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคน และแจ้งผลการได้รับคะแนนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
5.1  วิชาศิลปะการใช้ชีวิต ต้องปรับปรุงเนื้อหาทุก 3 ปี เพราะมีการเปลี่ยนแปลงแนวคิดต่าง ๆ          5.2  เชิญวิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้          5.3  ให้นักศึกษาเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัย พัฒนาชุมชนและสังคม