โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการปศุสัตว์

Computer Application for Livestock

เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น และสามารถประยุกต์ใช้โปรแกรมต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ในการจัดทำเอกสาร การจัดทำฐานข้อมูล การนำเสนอ การจัดการงานฟาร์มและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้านปศุสัตว์
เนื่องจากปัจจุบันพื้นฐานความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐานสำคัญในพัฒนาและใช้งานในด้านปศุสัตว์และยังเป็นองค์ความรู้ที่ทันสมัยและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การปรับปรุงรายวิชาครั้งนี้เพื่อเพิ่มเติมเข้าสู่เนื้อหาใหม่ ๆ และปรับกระบวนการเรียนให้เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบันในด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานที่สามารถนำประยุกต์ไปใช้ได้เหมาะสมกับสภาวะการผลิตปศุสัตว์ในปัจจุบัน
ศึกษาปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป จัดทำเอกสาร ฐานข้อมูล วาดภาพแผนผัง และโปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้องกับการปศุสัตว์
ตามสถานการณ์
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน หรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม และเสียสละ เป็นต้น
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบ หรือการลอกการบ้าน หรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
1. การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน และการส่งงาน ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษา เข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
2. ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. การประเมินผลงาน (ภาคปฏิบัติ) ผู้สอนตรวจผลงานที่เป็นภาคปฏิบัติของผู้เรียน ว่ามีความถูกต้องถูกต้องและเหมาะสม ไม่มีการคัดลอกผลงานของนักศึกษาผู้อื่น
4. บันทึกการกระทำทุจริตในการสอบ
l 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา l 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา l 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- การบรรยายประกอบสื่อการสอน
- ให้นักศึกษาปฏิบัติจริง ในโจทย์งานที่สอดคล้องกับเนื้อหาและสภาวะปัจจุบัน
- ข้อสอบแต่ละหน่วยเรียน โดยการสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินผลงานที่นักศึกษาได้มอบหมายให้ปฏิบัติ
นักศึกษาต้องคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง ไม่สอนในลักษณะท่องจำ นักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่างๆ จากการสอนเพื่อให้เกิดทักษะทางปัญญาดังนี้

¡ 3.1.1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ l 3.1.2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-การถามตอบ จากการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง และนำเสนอรายงาน
-สอนโดยใช้ประเด็นการสอนที่สอดคล้องกับสภาวะปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษามองเห็นภาพของการนำไปใช้ได้จริง
- การสังเกตพฤติกรรม ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมและประเมินจากคำตอบ และข้อคิดเห็น
- ข้อสอบ โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินผลงานที่นักศึกษาได้มอบหมายให้ปฏิบัติ
4.1 ผลการเรียนรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

l 4.1.1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ¡ 4.1.2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ¡ 4.1.3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม l 4.1.4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การให้ทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้โจทย์งานที่สามารถทำงานร่วมกันได้
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินผลงาน และการนำเสนอว่าสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนประเมินผลงานที่เป็นรายงาน และหรือ การปฏิบัติ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม  ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมจากมี มนุษยสัมพันธ์ มารยาทสังคมที่ดี แสดงออกถึงความเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- การประเมินผลงาน ผู้สอนประเมินผลงาน และการนำเสนอว่าสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
- การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน เพื่อนประเมินผลงานที่เป็นรายงาน และหรือ การปฏิบัติ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมจากการทำงานกลุ่ม  ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมจากมี มนุษยสัมพันธ์ มารยาทสังคมที่ดี แสดงออกถึงความเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
l 5.1.1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสม l 5.1.2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ¡ 5.1.3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้นักศึกษาสืบค้น โดยการกำหนดหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ ค้นคว้าเพิ่มเติม
- การนำเสนอรายงาน ให้นักศึกษานำเสนอโดยเลือกใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือที่เหมาะสม
- การประเมินผลงานรายบุคคล (ผลงาน) ผู้สอนตรวจผลงานของผู้เรียน
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
1 BSCAG250 โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการปศุสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.2, 1.1.3 การใช้บันทึกการเข้าชั้นเรียน 1-18 5
2 1.1.2, 1.1.4, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.4, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3 การประเมินผลงาน (ผลงาน) 1-18 30
3 3.1.1, 3.1.2,4.1.1, 4.1.2, 4.1.3 การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 1-18 5
4 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 ข้อสอบ 1-18 50
5 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3, 1.1.4 ประเมินการมีวินัย และพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วม / การส่งงาน 1-18 5
6 4.1.1, 4.1.2, 4.1.3 การประเมินโดยเพื่อนร่วมกลุ่มงานและหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 1-18 5
พรรณระพี  อำนวยสิทธิ์.  2548.  คอมพิวเตอร์ในการผลิตสัตว์.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
มนต์ชัย  ดวงจินดา. 2537.  การใช้โปรแกรม SAS เพื่อวิเคราะห์งานวิจัยทางสัตว์.  ภาควิชาสัตวศาสตร์. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
การใช้คอมพิวเตอร์กับงานปศุสัตว์