การทำหุ่นจำลอง

Model Making

1. กระบวนการกรรมวิธีการผลิตบรรจุภัณฑ์
2. ขนาดและสัดส่วนที่สัมพันธ์กับการยศาสตร์ของบรรจุภัณฑ์
3. เทคนิคการสร้างหุ่นจำลองบรรจุภัณฑ์
เพื่อเปลี่ยนแปลงเนื้อหาให้ทันสมัยสอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และฝึกปฏิบัติกระบวนการกรรมวิธีการผลิตบรรจุภัณฑ์ หลักแนวคิดขนาดและสัดส่วนที่สัมพันธ์กับการยศาสตร์ของบรรจุภัณฑ์ และกระบวนการทางเทคนิคการสร้างหุ่นจำลองบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะกับยุคปัจจุบัน
กรรมวิธีการผลิตบรรจุภัณฑ์ ขนาดและสัดส่วนที่สัมพันธ์กับการยศาสตร์ของบรรจุภัณฑ์ และเทคนิคการสร้างหุ่นจำลองบรรจุภัณฑ์โดยวิธีการต่างๆ
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายบุคคลที่ต้องการ)
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณของนักออกแบบ ปลูกฝังงานพื้นฐานเพื่อฝึกความมีวินัย อดทน ตรงต่อเวลา ให้นักศึกษาทำงานรายเดี่ยว หรือฝึกความรับผิดชอบ และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
1.3.1  ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าเรียนและการแต่งกาย 1.3.2  ประเมินจากการพฤติกรรมการปฏิบัติการและการสอบ 1.3.3  ประเมินจากความรับผิดชอบในการส่งงาน หน้าที่ที่ได้รับ การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.1.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.1.3  มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1 ถ่ายทอดทฤษฎี หลักการ และการนำไปใช้ใ ช้วิธีการฝึกปฏิบัติตามเนื้อหา 2.2.2 เน้นให้นำความรู้ที่ทันสมัย เทคโนโลยีมาเชื่อมโยงสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนในการบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3.1  ประเมินจากการวิเคราะห์แนวคิดก่อนออกแบบ 2.3.2  การปฏิบัติประเมินจากการออกแบบ องค์ประกอบ  และการอธิบายด้วยภาพนำเสนองาน
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน 3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 3.1.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
 ฝึกการใช้ความคิดสร้างสรรค์ โดยประยุกต์จากองค์ความรู้ในรายวิชา จัดการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาจากการปฏิบัติจริง
ประเมินการใช้ความคิดสร้างสรรค์ โดยประยุกต์จากองค์ความรู้ในรายวิชา จัดการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาจากการปฏิบัติจริง
4.1.1  มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.1.2  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.3  สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
4.2.1   จัดกิจกรรมรายบุคคล และกิจกรรมที่เน้นการมีปฎิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง เหมาะสมตามกิจกรรม 4.2.2   สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมองค์กร 4.2.3  สอดแทรกกรณีศึกษา ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
4.3.1  สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษารายบุคคล หรือขณะร่วมกิจกรรมกลุ่ม 4.3.2  ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ งานที่ได้รับมอบหมาย 4.3.3  การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรือการประสานงาน หรือความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.2  สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.3  มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
5.2.1   จัดการเรียนการสอนที่ต้องอาศัยทักษะคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมือสื่อสาร 5.2.2   จัดการเรียนการสอนที่สืบค้นข้อมูล และเทคโนโลยีในการนำเสนองาน 5.2.3   จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน การนำเสนอผลงาน
 5.3.1   ตรวจสอบกระบวนการคิดจากการปฏิบัติการ     5.3.2   ตรวจสอบข้อมูลที่สืบค้น และการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง     5.3.3  ทักษะการฟัง และการพูด จากการทำงานรายเดี่ยว หรือกลุ่มในการปฏิบัติการ ทักษะการเขียน การอ่านจากการเขียนรายงานภาคเอกสาร และผลการปฏิบัติ
6.1.1  มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
6.2.1 เชื่อมโยงความรู้ ความสัมพันธ์ในศาสตร์ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่มีความแตกต่าง
6.3.1 ประเมินจากการนำมาใช้ทั้งทางตรง และทางอ้อม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญา และวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ใน การสร้างสรรค์ผลงานตน
1 BAAPD108 การทำหุ่นจำลอง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 30
2 1.3,2.1, 2.2,3.1, 3.2,4.3,5.1,5.2 การฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์ การปฏิบัติงานโครงงานที่มอบหมาย 1,2,3,4,5,6 7,8,10,11,12 13,14,15,16,17 50
3 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2, 4.1-4.6,5.3-5.4 ศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงานการทำงานกลุ่มและผลงานการอ่านการส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10
4 1.1-1.7,3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
- ตระกูลพันธ์ พัชรเมธา, 2547, "ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหุ่นจำลอง", การทำหุ่นจำลอง (MODEL MAKING), หน้า2. - วัลลภ ไชยพรหม, 2530, "การทำแม่พิมพ์ปูนปลาสเตอร์หลายชิ้น", ปูนปลาสเตอร์ ศิลปะและการประดิษฐ์, หน้า42. - สุวิทย์ วิทยาจักษุ์, 2555, "วัสดุที่ใช้ในการหล่อรูป", การสร้างสรรค์งานหล่อ, หน้า11.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้           - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน           - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน           - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา           - ข้อเสนอแนะผ่านเวปบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้           - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน           - ผลการสอบ           - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้           - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน           - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ