ปฏิบัติงานไฟฟ้าพื้นฐาน

Basic Electrical Practice

ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับงานใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานไฟฟ้า การต่อสาย การเดินสายแบบต่างๆ การติดตั้งชุดอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารและโรงงานสำหรับระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานความรู้   ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับงานใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานไฟฟ้า การต่อสาย การเดินสายแบบต่างๆ การติดตั้งชุดอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารและโรงงานสำหรับระบบไฟฟ้า 1 เฟส และ 3 เฟส
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานไฟฟ้า การต่อสาย การเดินสาย แบบต่างๆ การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารและโรงงาน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษา
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.1, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10% 10% 70% 10%
    เอกสารประกอบการติดตั้งไฟฟ้า
    การติดตั้งไฟฟ้าภายในอาคารและนอกอาคาร
มาตราฐานการติดตั้งไฟฟ้า 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia
เอกสารประกอบการติดตั้งไฟฟ้า
การติดตั้งไฟฟ้าภายในอาคารและนอกอาคาร
มาตราฐานการติดตั้งไฟฟ้า
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2   ผลการเรียนของนักศึกษา
3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ