การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

Health Tourism

1. เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาแนวคิด ความเป็นมา ลักษณะ ประเภท องค์ประกอบ ของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาถึงแนวโน้ม ตลาดการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ รวมถึงกฎหมายข้อกำหนดและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
3.เพื่อให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานและ/หรือศึกษาดูงาน ร่วมกับหน่วยงานด้านสุขภาพภายนอก
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาการสอนให้ทันสมัยมากขึ้น และเป็นข้อมูลปัจจุบันมากกขึ้น
แนวคิด ความเป็นมา ลักษณะ ประเภท องค์ประกอบ ตลาดการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ แนวโน้ม การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ กฎหมายข้อกำหนดและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ การปฏิบัติงานและ/หรือศึกษาดูงาน ร่วมกับหน่วยงานด้านสุขภาพภายนอก
ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาในชั่วโมงกิจกรรม
1.1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการ พัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.1 สอนคุณธรรม จริยธรรม สอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
1.2.2 สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
1.2.3 การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
 
1.3.1 สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
1.3.2 ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
2.1.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง                                         
2.1.3 มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ
2.2.1 การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
2.2.2 มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้า และทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
2.2.3 ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ
2.2.4 อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
2.2.5 การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน
2.3.1 ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน
2.3.2 ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
2.3.3 ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
2.3.4 ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
3.1.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
3.1.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
3.1.3 มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
3.2.1 การอภิปรายเป็นกลุ่ม
3.2.2 การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
3.2.3 การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
3.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
3.3.2 การสอบข้อเขียน
3.3.3 การเขียนรายงาน
4.1.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
4.1.2 มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
4.1.3 มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
4.2.2 สอนโดยใช้กรณีศึกษา
4.3.1 ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
4.3.2 ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)
4.3.3 ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน
4.3.4 สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
5.1.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
5.1.3 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน
5.2.2 บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ
5.3.1 ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
5.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
5.3.3 ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์
5.3.4 ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
6.1.1 มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ
6.1.2 มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ
6.1.3 มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
6.2.1 ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ
6.3.1 ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการ พัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติกว้างขวางอย่างระบบตามมาตรฐานสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ด้านการท่องเที่ยวและการบริการกับศาสตร์อื่นๆ ที่หลากหลายและสามารถประยุกต์ใช้ได้ 2.3 มีความรู้ในกระบวนการและเทคนิคการวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้และแก้ไขปัญหาและในงานการท่องเที่ยวและการบริการ 3.1 มีความสามารถในการศึกษาและประมวลข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาข้อโต้แย้งและสังเคราะห์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ และขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 3.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปสู่การฝึกประสบการณ์ภาคสนามด้านการท่องเที่ยว และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3.3 สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องมาพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 4.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่ตามบทบาทของตนในกลุ่มงาน ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ 4.2 สามารถพัฒนาตนเอง วิชาการและวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรงตามมาตรฐานสากล 4.3 สามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 5.1 สามารถใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสารกับชาวต่างชาติทั้งในการให้บริการและการทำงานร่วมกันตามสถานการณ์และวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม 5.2 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารรู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับการท่องเที่ยวและการบริการ และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์ สถิติพื้นฐาน และโปรแกรมสำเร็จรูปในการประมวล การแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล 6.1 มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 6.2 มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 6.3 มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
1 BOATH128 การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน (การเข้าชั้นเรียน) คะแนนจิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาค 8 25%
3 งานที่ได้รับมอบหมาย 1. การเข้าร่วมสัมมนาและอภิปรายผล (10) 2. งานกลุ่มในชั้นเรียน (20) 3. การปฏิบัติงานกิจกรรมของภายนอกหลักสูตร (Free walking Tour) (5) 4. การปฏิบัติงานนำเที่ยวตามโปรแกรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (10) ตลอดภาคการศึกษา 45%
4 การนำเสนอและส่งเล่มรายงานโปรเจค 1) นำเสนอ Concept Project (5) 2) รายงานความก้าวหน้า+ปรึกษา (5) 3) เล่มรายงาน (10) 12,15 20%