อุณหพลศาสตร์

Thermodynamics

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติ และกฎของอุณหพลศาสตร์
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับก๊าซอุดมคติ งาน พลังงาน และความร้อน
1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบปิดและระบบเปิดที่มีการไหลคงที่ และสภาวะคงที่  
1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวน และวัฏจักรทางอุณหพลศาสตร์
1.5 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานการถ่ายเทความร้อน และการเปลี่ยนรูปพลังงาน
1.6 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องยนต์ความร้อน ปั๊มความร้อน และเครื่องทำความเย็น

 
หลักสูตรนี้จึงจัดทำขึ้นเพื่อผลิตครูวิชาชีพ รองรับความต้องการในงานด้านบุคลากรทางการศึกษาสายวิชาชีพ โดยเน้นให้ครูวิชาชีพมีความรู้ ความเข้าใจ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ  มีทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกลเพียงพอแก่การทำงาน  มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถใช้เครื่องมือได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย คิดเป็นทำเป็น และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม  มีคุณภาพสอดคล้องต่อความต้องการของตลาดแรงงาน  โดยมีสาระความรู้และสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาตามมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ และเป็นบัณฑิตที่มีความซื่อตรง  อดทน  มีคุณธรรม  จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งผลที่คาดจะว่าได้รับ ทำให้ได้บัณฑิตที่มีคุณสมบัติตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร  และพัฒนาด้านการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ กฎข้อที่ศูนย์ กฎข้อที่ 1 และกฎข้อที่ 2 ของอุณหพลศาสตร์
ก๊าซอุดมคติ งานและความร้อน พลังงานระบบปิดและระบบเปิดที่มีการไหลคงที่และสภาวะคงที่ กระบวนการต่างๆ ของอุณหพลศาสตร์ วัฏจักรคาร์โนเอนโทรปี พื้นฐานการถ่ายเทความร้อนและการเปลี่ยนรูป  พลังงาน เครื่องทำความร้อนเครื่องทำความเย็น ปั๊มความร้อน
จำนวน 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ที่ไม่ตรงกับตารางสอนของอาจารย์ หรือตามที่นักศึกษาสะดวกร้องขอ
1.1แสดงออกซึ่งจิตรสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
1.2แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
 1กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดีเช่นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
      2.สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ในการสอนในความซื่อสัตย์ สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ ไม่ลอกงานของผู้อื่น
    
-ประเมินจาการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
-การส่งงานตามกำหนดที่ได้รับมอบหมาย
-การร่วมกิจกรรม
-การกระทำทุจริตในการสอบหรือคัดลอกผลงาน
-ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
  มีความรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีสาขาวิชาชีพ เฉพาะ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
ใช้วิธีการสอนตามหัวข้อของลักษณะรายวิชา โดยการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ตามสภาพจริง
ส่งเสริมและชี้แนะให้มีการค้นคว้าเพิ่มเติมจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางวิชาการรวมทั้งการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม แล้วนำมาประยุกต์สร้างผลงานทางวิชาการ
 
- ประเมินผลตลอดภาคเรียน
-ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย

-ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
        ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ
แล้ววินิจฉัย และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบ
- ประเมินจากผลการอภิปรายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาในประเด็นที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ
 แสดงออกถึงการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
    ดำเนินการสอนโดยการกำหนดกิจกรรมกลุ่มที่แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
ส่งเสริมให้มีการนำเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวชาการ กำหนดการทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
-ประเมินจากผลการนำเสนอผลงาน
-ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็น

-ประเมินจากความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเพื่อน
สามารถใช้ดุลยพินิจในการสืบค้น  วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาสม
  ติดตามข้อมูลข่าวสารประเด็นสำคัญด้านวิชาการจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิเคราะห์และแปรความจากข้อมูลข่าวสาร
นำเสนอรายงานด้านวิชาการโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
  - ประเมินจากการวิเคราะห์และแปลความหมายจากผลการสืบค้นข้อมูล
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดีเช่นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2.สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ในการสอนในความซื่อสัตย์ สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ ไม่ลอกงานของผู้อื่น ใช้วิธีการสอนตามหัวข้อของลักษณะรายวิชา โดยการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ตามสภาพจริง ส่งเสริมและชี้แนะให้มีการค้นคว้าเพิ่มเติมจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางวิชาการรวมทั้งการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม แล้วนำมาประยุกต์สร้างผลงานทางวิชาการ ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ แล้ววินิจฉัย และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบ ดำเนินการสอนโดยการกำหนดกิจกรรมกลุ่มที่แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ส่งเสริมให้มีการนำเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวชาการ กำหนดการทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ ติดตามข้อมูลข่าวสารประเด็นสำคัญด้านวิชาการจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิเคราะห์และแปรความจากข้อมูลข่าวสาร นำเสนอรายงานด้านวิชาการโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 TEDME934 อุณหพลศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม -ประเมินจาการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน -การส่งงานตามกำหนดที่ได้รับมอบหมาย -การร่วมกิจกรรม -การกระทำทุจริตในการสอบหรือคัดลอกผลงาน -ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายของวิชาอุณหพลศาสตร์ ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ ทดสอบย่อย 4 ครั้ง สอบกลางภาค ทดสอบย่อย 2 ครั้ง สอบปลายภาค 2,3,4,5 8 10,11 18 5% 30% 5% 30%
3 ด้านทักษะทางปัญญา - ประเมินจากผลการอภิปรายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาในประเด็นที่ได้จากการมอบหมายงานและการสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ -ประเมินจากผลการนำเสนอผลงาน -ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็น -ประเมินจากความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเพื่อน ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ประเมินจากการวิเคราะห์และแปลความหมายจากผลการสืบค้นข้อมูล ตลอดภาคการศึกษา 5%
ศรัทธา  อาภรณ์รัตน์, เทอร์โมไดนามิกส์ขั้นพื้นฐาน, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2558, กรุงเทพมหานคร : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด. ทะนงศักดิ์  รามการุน, เทอร์โมไดนามิกส์, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2558, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ. ชัยสวัสดิ์  เทียนวิบูลย์, เทอร์โมไดนามิกส์, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ ก. วิวรรธน์. Cengel Y.A. and Boles M. A. Thermodynamics: Approach. 6th ed., McGraw-Hill, 2007. ยูนัส เอ เซนเกล และไมเคิล เอ โบลส์, เทอร์โมไดนามิกส์, แปลโดย สมชัย อัครทิวา และขวัญจิต วงษ์ชารี. กรุงเทพมหานคร : แมคกรอ-ฮิล อินเตอร์เนชั่นแนล เอ็นเตอร์ไพรส์ แอลแอลซี, 2554.
แอปพลิเคชั่น  Catt2 thermodynamic tables.   ตาราง Conversion Factors. ตารางสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ของสารบริสุทธ์ แผนภูมิแสดงสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ของสารบริสุทธ์
 

เครื่องมือวัดอุณหภูมิชนิดอินฟาร์เรด เกจวัดความดัน ถังความดันบรรจุสารทำความเย็น R134-a สื่อของจริงชุดการสอนระบบทำความเย็นแบบอัดไอ เครื่องชั่งระบบดิจิตอล เครื่องคิดเลขทางฟิสิกส์ มานิโฟลเกจ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ