การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

Object Oriented Programming

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับหลักการ วิธีการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ คลาสและวัตถุ หลักการห่อหุ้ม การสืบทอดคุณสมบัติพอลิมอร์ฟิซึม การพัฒนาโปรแกรมด้วยแนวคิดเชิงวัตถุ เพื่อเจตคติที่ต่อการเขียนโปรแกรมแนวใหม่และการนำไปประยุกต์ใช้งานในชวิตประจำวัน 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุพื้นฐาน เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อฝึกทักษะการเป็นนักเขียนโปรแกรมและการออกแบบโปรแกรมเชิงวัตถุวิสัย
ศึกษาองค์ประกอบของการเขียนโปรแกรมตามแนวคิดเชิงวัตถุ เช่น คลาส ออบเจ็กต์ แอตทริบิวต์ เมธอด การสืบทอดคุณสมบัติ โพลีมอร์ฟิซึม เป็นต้น ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรมบนสภาพแวดล้อมแบบต่าง ๆ เช่น การเขียนโปรแกรมบนระบบวินโดวส์ การเขียนโปรแกรมบนระบบเว็บ เพื่อเรียกใช้งานไลบรารีฟังก์ชันและเอพีไอของภาษาของระบบ โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
Study of object oriented programming such as class, object, attribute, method, inheritance, polymorphism. Programming practice in many environment such as windows programming, web programming, using library and API by using object oriented programming language.
1 ทุกวันพุธ หลังกิจกรรมเวลาประมาณ 16-17  น.
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1. มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4. เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายยกตัวอย่างกรณีศึกษา ด้านจริยธรรม ฝึกปฏิบัติการทดสอบโปรแกรม มอบหมายงานเป็นกลุ่ม กำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบงานที่มอบหมาย 
 
ประเมินจากแบบฝึกหัด จากการสังเกตพฤติกรรม การเข้าเรียน การทำงานเป็นกลุ่ม จากการนำเสนองาน จากการสัมภาษณ์ การมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนในชั้นเรียน
2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย หลักการและทฤษฎีการเขียนโปรแกรม ยกตัวอย่างกรณีศึกษา การประยุกต์ใช้งานระหว่างศาสตร์ 
ประเมินจากแบบฝึกหัด ข้อสอบระหว่างภาคและปลายภาค
มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
กำหนดปัญหา วิธีแก้ปัญหา การแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์เพื่อออกแบบวิธีแก้ปัญหาด้วยอัลกอริทึมแบบต่าง ๆ นำสู่การเขียนโปรแกรมเพือแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
ประเมินจากแบบฝึกหัดและแบบฝึกปฏิบัติ 
มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
บรรยายยกตัวอย่างเหตุการณ์ปัจจุบัน การใช้โซเชิยลมิเดีย การสื่อสารระหว่างบุคคล ความสามัคคีในหมู่คณะ
แบบฝึกหัด จากการสังเกตุ การซักถาม ขอสอบ
สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
บรรยายา กำหนดปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม ฝึกปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมด้วยวงจรการพัฒนาระบบ
ประเมินจากผลงาน การนำเสนองาน รายงาน การบ้าน แบบฝึกหัด ข้อสอบระหว่างภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข การ สื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
1 BSCCS302 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม แบบฝึกหัด, การมีส่วนร่วม, ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย 1-15 10%
2 ด้านความรู้ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ประเมินจากแบบฝึกหัดระหว่างเรียน , การซักถาม,งานที่มอบหมาย,สอบกลางภาค,สอบปลายภาค 1-15 50%
3 ทักษะทางปัญญา 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ประเมินจากแบบฝึกหัดระหว่างเรียน , การซักถาม,ผลงานที่มอบหมาย 1-15 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย จากการทำงานเป็นทีม จากความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย จากการสังเกตุและการนำเสนอผลงาน 15 10%
5 ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข การ สื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด จากการสังเกตุและผลสอบปลายภาค 10-15 10%
1.วรเศรษฐ สุวรรณิก และ ทศพล ธนะทิพานนท์, เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น  2. อนรรฆนงค์ คุณมณี, คู่มือเรียนเขียนโปรแกรม Java ฉบับผู้เริ่มต้น 
 
1. https://en.wikipedia.org/wiki/Object-oriented_programming
2. https://www.geeksforgeeks.org/object-oriented-programming-oops-concept-in-java/
3. https://www.tutorialspoint.com/java/java_basic_syntax.htm
4. https://www.w3schools.com/java/java_data_types.asp
1.1 ประเมินการสอนด้วยแบบสอบถามออนไลน์จากส่วนกลาง
1.2 ประเมินการสอนโดยหลักสูตรจากแบบสอบถามออนไลน์
2.1 ให้นักศึกษาประเมินการสอนก่อนปิดภาคเรียน
3.1 นำผลการประเมินรายวิชาของนักศึกษาของปีการศึกษาที่ผ่านมา มาวิเคราะห์ร่วมกันกับอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้ได้ข้อสรุปในการปรับปรุงรายวิชา
4.1 หลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิเพืี่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยการนำมคอ. ๓ มคอ. ๕ และข้อสอบ มาวิเคราะห์ และสรุปข้อเสนอแนะในการปรับปรุงรายวิชาให้อาจารย์ผู้สอนทราบเพื่อปรับปรุงให้ได้มาตรฐาน
5.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตรจัดประชุมหลังปิดภาคเรียน และนำผลการประเมินรายวิชาจาก ข้อ 1 และ ข้อ 2 มาวิเคราะห์เพื่อหาข้อบกพร่องมาแก้ไขปรับปรุง