เทคโนโลยีหลังพิมพ์

Post-press Technology

1. รู้และเข้าใจกระบวนการทำสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคการแปรรูปและเทคนิคการตกแต่งสิ่งพิมพ์ รวมถึงวิเคราะห์ปัญหาและการตรวจสอบคุณภาพ
2. มีทักษะกระบวนการทำสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคการแปรรูปและเทคนิคการตกแต่งสิ่งพิมพ์
3. มีทักษะในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์เครื่องจักรและเทคโนโลยีการตกแต่งสิ่งพิมพ์
4. มีทักษะในการวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและตรวจสอบคุณภาพงาน
-
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการทำสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคการแปรรูป เทคนิคงานทำสำเร็จสำหรับตกแตกต่างสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งพิมพ์ ตลอดจนสามารถตรวจสอบ วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นของงานหลังพิมพ์
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา  ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
  1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
  2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่

เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
            2. นักศึกษามีความรับผิดชอบโดยการทำงานเป็นกลุ่มและฝึกให้มีความเป็นผู้นำกลุ่มและเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์ไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือคัดลอกผลงานที่ได้รับมอบหมายของผู้อื่น
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
                2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความรู้และความเข้าใจทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
            2. สามารถบูรณาการใช้ความรู้ไปสู่การปฏิบัติงานจริงอย่างถูกต้อง
            3. สามารถติดตามกระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
1. บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียนและการซักถามตอบข้อปัญหาที่นักศึกษาไม่เข้าใจ
            2. สาธิตและนักศึกษาฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติงาน
            3. การทำงานเดี่ยว ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและรายงาน
            4. การประยุกต์การปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียงกับสภาพจริง
1. การสอบปลายภาคเรียน
            2. ประเมินผลงานสำเร็จจากทักษะการปฏิบัติร่วมกับการวิเคราะห์หลักการทฤษฏีให้ถูกต้อง
            3. ประเมินผลจากการนำเสนอและรายงานในชั้นเรียน
            4. วิธีการปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
1. คิดหาเหตุและผลในการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ถูกต้องตามขั้นตอน
            2. นักศึกษาสามารถฝึกทักษะในการปฏิบัติงานอย่างจริง
1. ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน
            2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน
            1. สามารทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
            2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. นักศึกษาสามารถนำเสนอหัวข้อในการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอน
            2. นักศึกษาปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบ
            3. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีร่วมกัน
            1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน
            2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย
1. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
            2. สามารเลือกใช้วิธีและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
1. บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียน
            2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์
            1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
            2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกัน
1. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
            2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
            1. บรรยาย สาธิตวิธีการปฏิบัติงาน
            2. ดูแล ให้คำแนะนำ ปรึกษาขณะนักศึกษาปฏิบัติงาน
            3. นักศึกษาสรุปผลและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
            4. ตรวจสอบประสิทธิภาพของงานพร้อมให้ข้อแนะนำกับนักศึกษา
            1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน
            2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ
            3. เสร็จตรงตามกำหนดเวลา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1. มีความรู้และความเข้าใจทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถบูรณาการใช้ความรู้ไปสู่การปฏิบัติงานจริงอย่างถูกต้อง 3. สามารถติดตามกระบวนการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ 1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 1. สามารทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 2. สามารเลือกใช้วิธีและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 1. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
1 BTEPP133 เทคโนโลยีหลังพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
2 ความรู้ 1. การสอบปลายภาคเรียน 2. ประเมินผลงานสำเร็จจากทักษะการปฏิบัติร่วมกับการวิเคราะห์หลักการทฤษฏีให้ถูกต้อง 3. ประเมินผลจากการนำเสนอและรายงานในชั้นเรียน 4. วิธีการปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน 8, 17 ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ทักษะทางปัญญา 1. ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน 2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน 2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. บรรยายและอภิปรายในชั้นเรียน 2. การนำเสนอโดยการวิเคราะห์การแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมในการวิเคราะห์ ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 ทักษะพิสัย 1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน 2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ 3. เสร็จตรงตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา 60%
1. บุญชู ศิริสกาวกุล และสุรเดช  เหล่าแสงงาม. เทคนิคงานหลังพิมพ์ 1. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
2. บุญชู ศิริสกาวกุล และสุรเดช  เหล่าแสงงาม. เทคนิคงานหลังพิมพ์ 2. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
3. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์.  งานหลังพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2552 ปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2548.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
4. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์.  วัสดุทางการพิมพ์ในงานหลังพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539 ปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552.
    สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
5. พันเอกอุดม  ควรผดุง. งานเดินรอยร้อน งานดุนนูน และงานอัดตามแม่แบบหลังพิมพ์. ครั้งที่ 1 พ.ศ.
     2541. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
6. วีระ  โชติธรรมาภรณ์. งานหลังพิมพ์. ISBN 974-421-041-9  พ.ศ. 2542. โปรแกรมวิชาการพิมพ์  
    คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.
7. สุภาวดี  เทวาสะโณ. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานหลังพิมพ์.  พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. สำนักพิมพ์
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
8. สุภาวดี  เทวาสะโณ. การเคลือบวาร์นิชและการลามิเนตในงานหลังพิมพ์สำหรับสิ่งพิมพ์กระดาษ.
    พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
    นนทบุรี.
9. สุภาวดี  เทวาสะโณ. สารยึดติด.  พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2542. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
10. เสริมศรี ปุณยรัตน์ และ วิบูลย์  อุปถัมภกสุกล. การตรวจสอบคุณภาพงานสิ่งพิมพ์และการบำรุงรักษา
    เครื่องจักร. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,  นนทบุรี.
11. หลักการงานหลังพิมพ์สำเร็จรูป.www.tei.or.th/.../120801-31-3_Draft_PCR_Press%20and%20post%,
     สืบค้นวันที่ 4 ต.ค. 2559.
12. Alisa Golden.  Making Handmade Books.  Lark Crafts, An Imprint of Sterling Publishing,
    2010.
13. Charlotte Rivers.  Little Book of Book Making. United States: The Crown Publishing Group,
    2014.
14. Franz Zeire.  Books, Boxes, And Portfolios.  Everbest Printing Company, 1986.
 
          ไม่มี
          ไม่มี
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ