ฝึกงานวิชาชีพทางออกแบบอุตสาหกรรม

Job Internship in Industrial Design

1. เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสใช้ทฤษฎีเกี่ยวและกลวิธีการทำงานต่างๆ
2. เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากการทำงานจริง
3. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้งานอาชีพสามารถแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
4. เพื่อให้นักศึกษาฝึกการอยู่ในระเบียบวินัย และข้อบังคับของหน่วยงานที่ตนไปฝึกงาน
5. เพื่อฝึกการทำงานร่วมกับบุคคลอื่นในหน่วยงานได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ
เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลในการฝึกงานปีที่ผ่านมา มาปรับปรุงกระบวนการจัดการฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษาให้มีความเหมาะสมกับความต้องการของสถานประกอบการ  และเพื่อให้การจัดการการฝึกประสบการณ์ของนักศึกษามีความสะดวกและเข้าใจตรงกันทุกฝ่าย
การฝึกปฏิบัติงานลักษณะแบบเต็มเวลา ไม่น้อยกว่า 360 ชั่วโมง ในหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพออกแบบอุตสาหกรรม หรือด้านการออกแบบ 
Practice on working full time no less than 360 hours within the government or private industrial design sectors.
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ฝึกปฏิบัติงานทางด้านออกแบบอุตสาหกรรม ในสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน
ประเมินผลจากรายงานการฝึกประสบการณ์
ประเมินผลจากสมุดบันทึกการฝึกงาน
แบบประเมินผลจากการประเมินของสถานประกอบการ
ประเมินจากการติดตามผลของอาจารย์นิเทศติดตามผลการฝึกประสบการณ์
ประเมินจากการนำเสนอประสบการณ์เป็นกลุ่มหลังจากฝึกประสบการณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 BAAID122 ฝึกงานวิชาชีพทางออกแบบอุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 1. นักศึกษาต้องเข้าร่วมในทุกขั้นตอนของการฝึกงานภาคสนาม 2. นักศึกษาต้องได้คะแนนจากการประเมินจากสถานประกอบการและอาจารย์ผู้นิเทศการฝึกงานไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ตลอดการฝึกปฏิบัติงาน 80%
2 1-6 ประเมินสมุดบันทึกการฝึกงานด้วยแบบประเมินสมุดบันทึกการฝึกงานและเอกสารรายงานการฝึกงาน 9 20%
คู่มือฝึกงาน หลักสูตรออกแบบอุตสาหกรรม สาขาการออกแบบ คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ความรู้ความเข้าใจ สิ่งที่นักศึกษาได้รับจากการฝึกงาน
ประเมินรายวิชาตามผลปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ และจากกรรมการนิเทศฝึกงาน และรายงานการฝึกงานของนักศึกษา
ปรับปรุงแก้ไขตามสถานการณ์ปัจจุบัน
ประเมินจากแบบประเมินความพึงพอใจในการฝึกงานจากสถานประกอบการ
เมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานแล้ว นำผลการประเมินทุกส่วน ทั้งของนักศึกษา สถานประกอบการ และ ของอาจารย์นิเทศรวมทั้งปัญหาและอุปสรรค และข้อเสนอแนะของสถานประกอบการเข้าที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อช่วยกันหาแนวทางในการปรับปรุงรายวิชาในปีต่อไป