เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน

Necessary Information Technology in Daily Life

1.1 สามารถอธิบายเทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในชีวิตประจำวันได้ 1.2 นำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้งานในการใช้ชีวิตประจำวันหรือในการศึกษาวิชาอื่น ๆ ได้ 1.3 มีกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 1.4 สามารถบริหารจัดการตนเองภายใต้สภาพแวดล้อมเทคโนโลยีสมัยใหม่และปรับใช้ประโยชน์ 1.5 มีค่านิยมที่ดีมองเห็นคุณค่าของวิชาชีพ มีจริยธรรมคุณธรรมตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม 1.6 สามารถใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปสำรับการจัดทำเอกสาร การจัดตารางคำนวณ และการนำเสนอ
เพื่อให้นักศึกษามีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล ด้านเทคโนโลยีที่จำเป็นใจชีวิตประจำวัน  มีความคิดเชิงสร้างสรรค์ต่อการดำเนินชีวิตและดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่ายอินเตอร์เนต สื่อดิจิทัล สื่อสังคมออนไลน์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ปัญญาประดิษฐ์ การใช้เทคโนโลยีสื่อประสม และการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่จำเป็นเบื้องต้น ความปลอดภัยในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  study about definition, importance and components of information technology, the internet, digital media, social networking, e-commerce, internet of things (IOT), artificial intelligence (AI), multimedia technology and necessary application programs, internet threats and security and Computer - Related Crime Act B.E. 2550. 
ไม่มี
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1. มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4.เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
1.2 วิธีการสอน
1. บรรยายและใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติกับเครื่องคอมพิวเตอร์  2.เน้นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
1.3 วิธีการประเมินผล
1.ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี  2. นำเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง  3.วิเคราะห์กรณีศึกษา
1. บรรยายและใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติกับเครื่องคอมพิวเตอร์  2.เน้นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1.สอบกลางภาคและปลายภาค   2.วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน  3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยายและใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติกับเครื่องคอมพิวเตอร์  2.เน้นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
1.สอบกลางภาคและปลายภาค   2.วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน  3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยาย หลักการและการประยุกต์ใช้งาน เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน ด้วยวิธียกตัวอย่างแอปพลิเคชัน ที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น Facebook, Line , Instragram เป็นต้น 
ประเมินจากการสังเกตุ จากแบบฝึกหัด งานที่มอบหมาย และผลสอบระหว่างภาคปลายภาค
มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
บรรยายประเด็จที่เกี่ยวกับสถานะการณ์ปัจจุบันของสังคมและศาตร์ที่เกี่ยวข้องกับสังคือมเสมือนจริง การมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสังคม 
จากการสังเกตุและการตอบแบบสอบถาม งานที่มอบหมาย ผลสอบระหว่างภาค และปลายภาค
เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
บรรยายด้วยสไลด์นำเสนอ เกี่ยวกับการวิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม การใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
การสังเกตุ และแบบทดสอบระหว่างเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1 GEBSC301 เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.5,1.6,4.1 ประเมินจากการสังเกตุ จากแบบฝึกหัดก่อนและหลังเรียน 1-15 ร้อยละ 5
2 2.1,2.2,2.3,3.1,3.2,3.3 การทดสอบย่อย 2 ครั้ง 5,15 20
3 2.1,2.2,2.3,3.1,3.2,3.3 การสอบกลางภาค 9 30
4 5.1,5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน 15 ร้อยละ 15
5 2.1,2.2,2.3,3.1,3.2,3.3 สอบปลายภาค 17 ร้อยละ 30
สุธีร์ นวกุล, คู่มือการใช้งานคอมฯ มือใหม่,  --------เล่นแชต-สนุกแชร์-ขยันโพสต์ Facebook-Line-Instagram, --------คู่มือใช้งาน Windows 10 ฉบับสมบูรณ์ ฮิโรชิ ทาซากะ, ปาวัน การสมใจ(แปล), อนาคตที่ AI ทำอะไรคุณไม่ได้ 
เอกสารประกอบการสอน และเว็บไซต์ 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ปรับสื่อการเรียนการสอนในเป็นปัจจุบัน
แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาก่อนปิดภาคการศึกษา เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขการเรียนการสอนต่อไป
ยังไม่มีผลการทวนสอบเนื่องจากเป็นปีการศึกษาเรียกที่ใช้แผนการเรียน