คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน

Mathematics and Statistics in Daily Life

1.1 เพื่อให้นำคณิตศาสตร์พื้นฐานไปใช้ในชีวิตประจำวัน
1.2 เพื่อให้มีทักษะการคิดและคำนวณทางคณิตศาสตร์
1.3 เพื่อให้มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแปล
ความหมาย
1.4 เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้คณิตศาสตร์เพียงพอที่จะไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และฝึกให้เป็นคนมีเหตุผลและรอบคอบ 
ศึกษาเกี่ยวกับเลขฐาน  ตรรกศาสตร์เพื่อการตัดสินใจ   คณิตศาสตร์การเงิน  ระเบียบและวิธีดำเนินการทางสถิติ สถิติพรรณนา  ความน่าจะเป็น  การวิเคราะห์สถิติและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับชีวิตประจำวัน 
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต

      2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ก่อนเรียนเนื้อหาทุกครั้งฝึกให้นักศึกษามีวินัย ตรงต่อเวลา รู้จักรับผิดชอบ

      2. อภิปรายกลุ่ม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 สังเกตจากการทำงานกลุ่ม
1.3.3 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในเรื่อง ระบบเลขฐาน ตรรกศาสตร์ ฟังก์ชันเลขชี้กำลังและลอการิทึม
เมทริกซ์และดีเทอร์มิเนนต์ ฟังก์ชันพีชคณิต ลิมิต และความต่อเนื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต
2.2.1 บรรยาย
2.2.2 สาธิตการใช้อุปกรณ์ และสื่อการสอน
2.2.2 นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยสอนหรือประกอบบทเรียน
2.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2 การตรวจงานที่มอบหมาย
2.3.2 ซักถามและรายงาน ผลงานที่ได้รับมอบหมาย
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีระบบและมีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถนำความรู้ในเนื้อหาที่ เรียนมาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้  
3.2.1 การมอบหมายงานโดยการไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นกลุ่มแล้วทำรายงานส่ง
3.2.2 ยกตัวอย่างในเนื้อหารายวิชาให้แสดงการคิด แก้ปัญหาอย่างมีระบบ
3.2.3 การมอบหมายงาน โดยให้ทำแบบฝึกหัดเพื่อทบทวน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค
3.3.2 จากการตรวจชิ้นงานที่ครูได้มอบหมายให้ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
3.3.3 จากการสังเกตการทำงานของนักศึกษาว่าทำเป็นระบบหรือไม่อย่างไร
4.1.1 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามที่มอบหมาย
4.1.2 พัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยการไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
4.2.1 มอบหมายงานเป็นรายกลุ่ม และรายบุคคล แล้วให้นำเสนอเป็นรายงาน
4.2.2 ให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติม และนำเสนอเป็นรายงาน
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
4.3.2 สังเกตจากการตรวจงานที่มอบหมาย
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3 พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเครื่องมือ และเทคโนโลยีสมัยใหม่
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์หรือสื่อการสอนอื่นๆ
5.2.2 นำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เทคโนโลยีสมัยใหม่
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 1 2
1 GEBSC101 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.3, 3.3 การทดสอบย่อย (Quiz) 1-18 1-18
2 1.3, 2.3, 3.3 การสอบกลางภาค 9 30 %
3 1.3, 2.3, 3.3 การสอบปลายภาค 18 30%
4 4.3 งานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน 10%
5 4.3, 5.3 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ในรายวิชา ตลอดภาคเรียน 10 %
เอกสารประกอบการสอน วิชา คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก
กมล เอกไทยเจริญ. คณิตศาสตร์ ม.6 . กทม. ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง จำกัด . 2521


กัลยา วานิชย์บัญชา. หลักสถิติ กทม. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2539


ผ่องศรี คุ้มจอหอ, พัศนีย์ พันตา และลำดวน ยอดยิ่ง . สถิติธุรกิจ . กทม. สำนักพิมพ์เอมพันธ์. 2540


สุจิตรา หังสพฤกษ์. สถิติธุรกิจ. กทม. บัณฑิตสาส์น จำกัด.


ศิริลักษณ์ สุวรรณวงศ์. หลักสถิติเบื้องต้น. กทม. สุวีริยาสาส์น ,2539
บทความเกี่ยวกับสถิติ  จากเวบไซต์ต่างๆ  และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน 
- การสังเกตความสนใจของผู้เรียนขณะทำการสอน
- แบบประเมินผู้สอนผ่านเว็บมหาวิทยาลัย
- ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะ
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทำวิจัยในชั้นเรียน
- การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตรวจสอบ ข้อสอบ
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4