ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร
Chinese for Communication
1.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในคำศัพท์ สำนวนภาษาจีนที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
1.2 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ชีวิตประจำวัน
1.3 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และเทศกาลประเทศจีน
1.4 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับขั้นต่อไปได้
1.2 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ชีวิตประจำวัน
1.3 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และเทศกาลประเทศจีน
1.4 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับขั้นต่อไปได้
1. ฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน และ เขียน ในสถานการณ์ต่าง ๆ
2. ศึกษาวัฒนธรรมการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ
3. เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และเทศกาลของประเทศจีน
4. ฝึกทักษะในการสื่อสาร
2. ศึกษาวัฒนธรรมการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ
3. เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และเทศกาลของประเทศจีน
4. ฝึกทักษะในการสื่อสาร
ศึกษาและฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนในสถานการณ์ที่ต่างกัน และศึกษาวัฒนธรรมการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ฝึกทักษะในการสื่อสาร เรียนรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และเทศกาลประเทศจีน
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์โดยประกาศในชั้นเรียน / ผู้เรียนนัดหมายกับอาจารย์ประจำวิชาก่อนล่วงหน้า
มีวินัย และซื่อสัตย์สุจริต
1.มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าและทำด้วยตนเอง ไม่ลอกงานผู้อื่น
2.เข้าชั้นเรียน ส่งงานและเข้าสอบตามเวลา
3.ไม่ทุจริตในการสอบ
2.เข้าชั้นเรียน ส่งงานและเข้าสอบตามเวลา
3.ไม่ทุจริตในการสอบ
การเข้าชั้นเรียน ผลงานที่ได้รับมอบหมาย ผลการสอบ
. มีความรู้ ความเข้าใจ ศัพท์ ภาษาจีนที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
2. เขียนคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องได้
3.มีความรู้ ความเข้าใจ ในการสื่อสารแต่ละบริบท
4.สามารถสื่อสารในชีวิตประจำ
วันในแต่ละบริบทได้
2. เขียนคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องได้
3.มีความรู้ ความเข้าใจ ในการสื่อสารแต่ละบริบท
4.สามารถสื่อสารในชีวิตประจำ
วันในแต่ละบริบทได้
1. มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาล่วงหน้าตามหัวข้อที่กำหนด
2.ผู้เรียนเข้าฟังบรรยายสรุป
3. มอบหมายงานให้ฝึกทักษะ
2.ผู้เรียนเข้าฟังบรรยายสรุป
3. มอบหมายงานให้ฝึกทักษะ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค งานที่มอบหมาย
1. สามารถสื่อสารตามสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้
1. ให้ผู้เรียนเลือกสถานการณ์การด้วยตัวเอง
2. ให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตัวเอง
3.นำเสนอผลงานที่ศึกษาค้นคว้า
2. ให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตัวเอง
3.นำเสนอผลงานที่ศึกษาค้นคว้า
1. การนำเสนอผลงานทั้งแบบเดี่ยว และแบบกลุ่ม
2.การมีส่วนร่วมของเพื่อนร่วมชั้น
2.การมีส่วนร่วมของเพื่อนร่วมชั้น
1.การศึกษาด้วยตัวเองแบบกลุ่ม ตามหัวข้อกำหนดและตามที่เลือกด้วยตัวเอง
2.การนำเสนอผลงานของผู้เรียนในชั้นเรียน และ โปรแกรมสำเร็จรูป
2.การนำเสนอผลงานของผู้เรียนในชั้นเรียน และ โปรแกรมสำเร็จรูป
มอบหมายให้ทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอหน้าชั้นเรียน และโปรแกรมสำเร็จรูป
1.จากการนำเสนอผลงาน
2.จากการตอบข้อสงสัยของเพื่อนร่วมชั้น และอาจารย์
2.จากการตอบข้อสงสัยของเพื่อนร่วมชั้น และอาจารย์
1.ใช้ภาษาจีนได้อย่างถูกต้อง
2.ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อหาการเรียนรู้
3.ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเรียนและนำเสนองานได้
2.ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อหาการเรียนรู้
3.ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเรียนและนำเสนองานได้
มอบหมายงานเพื่อฝึกฝนการ การให้ข้อมูลตามสถานการณ์ต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานการบริการ
จากการนำเสนอผลการฝึกปฏิบัติหน้าชั้นเรียน และผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป
ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาจีนในชีวิตประจำวันตามหัวข้อที่ได้เรียนมาได้
มอบหมายงาน และ ให้ผู้เรียนค้นคว้าตามสนใจ
การนำเสนอผลงานการค้นคว้า
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1, 1.2, 2.1 | แบบฝึกหัดรายบุคคล | 1-11 | 10% |
2 | 1.1, 1.2, 2.1, 3.2 | สอบกลางภาค | 9 | 30% |
3 | 1.1, 1.2, 2.1, 2.3, 3.2, 3.3, 4.2, 4.3 | นำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย | 17 | 20% |
4 | 1.1, 1.2, 4.3 | การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน | 1-17 | 10% |
5 | 1.1, 1.2, 2.1, 2.3, 2.3, 3.2, 3.3, | สอบปลายภาค | 18% | 30% |
วสุพล ดอกพิกุล ;ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร交际汉语,เอกสารประกอบการสอน
ไม่มี
วัฒนธรรมจีน ผู้เรียนสามารถค้นหาได้ทั่วไป
1.1 การทดสอบย่อยรายบุคคลและแบบกลุ่ม
1.2 ใช้แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.3 ให้นักศึกษาเสนอความคิดเห็นโดยการสรุปผลการนำเสนอการจากการเขียนและการพูด
1.2 ใช้แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.3 ให้นักศึกษาเสนอความคิดเห็นโดยการสรุปผลการนำเสนอการจากการเขียนและการพูด
2.1 ผลการเรียนและผลการสอบ
2.2 สังเกตและสัมภาษณ์ผู้เรียน
2.3 ผลการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
2.2 สังเกตและสัมภาษณ์ผู้เรียน
2.3 ผลการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
3.1 สรุปปัญหาในแต่ละเรื่องที่สอนเพื่อหาแนวทางปรับปรุง
3.2 ผลการทดสอบย่อยรายบุคคล ปรับปรุงเป็นรายบุคคล
3.3 ผลการนำเสนองานเพื่อปรับปรุงข้อดีข้อด้อยของงาน และ การมอบหมายงาน
3.2 ผลการทดสอบย่อยรายบุคคล ปรับปรุงเป็นรายบุคคล
3.3 ผลการนำเสนองานเพื่อปรับปรุงข้อดีข้อด้อยของงาน และ การมอบหมายงาน
4.1 ให้อาจารย์ผู้สอนร่วมเป็นผู้ตรวจแบบทดสอบ การให้คะแนน และ การมอบหมายงาน
4.2 ให้อาจารย์ในภาควิชาเป็นกรรมการตรวจดูการให้คะแนนการสอบ เพื่อสอบถามข้อสงสัยต่างๆ
4.2 ให้อาจารย์ในภาควิชาเป็นกรรมการตรวจดูการให้คะแนนการสอบ เพื่อสอบถามข้อสงสัยต่างๆ
5.1 เปิดโอกาสรับฟังความคิดเห็นของผู้เรียน ผู้สอนร่วม และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อปรับปรุงเนื้อหารายวิชา การวัดประเมินผล
5.2 ปรับปรุงรายวิชา ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษาผู้ประเมิน
5.2 ปรับปรุงรายวิชา ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษาผู้ประเมิน