ภาษาจีนพื้นฐาน 1

Fundamental Chinese 1

1.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในคำศัพท์ สำนวนที่ใช้ในการสื่อสาร ภาษาจีน
1.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจรูปประโยคและไวยากรณ์ ภาษาจีน
1.3 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาจีนในชีวิตประจำวันได้
1.4 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงได้
1.5 เพื่อให้ผู้เรียนมี่ความรู้พื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับขั้นต่อไปได้
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้พื้นฐานด้านความรู้คำศัพท์ภาษาจีน ประโยคการสนทนาสามารถสนทนาในประโยคสั้น ๆ ได้ ตลอดจนสามารถสร้างประโยคใหม่ได้อย่างไม่จำกัดบนพื้นฐานของไวยากรณ์ที่ถูกต้อง สามารถออกเสียงได้อย่างถูกต้อง
ผู้เรียนมีกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบและสามารถวิเคราะห์ประโยคตามหลักไวยากรณ์จีน รวมทั้งได้เรียนรู้วัฒนธรรม คติธรรม ค่านิยม ธรรมเนียม สามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนการปรับปรุงข้อมูลเนื้อหารายวิชาเพื่อให้เหมาะสมกับยุคสมัย ที่จุดมุ่งหมายในการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลรายวิชานี้
ฝึกทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียน ภาษาจีน กลุ่มคำ ประโยค และบทสนทนา การทักทาย การแนะนำตนเอง และผู้อื่น และสามารถสร้างประโยคใหม่ได้อย่างไม่จำกัด ภายใต้ความเข้าใจในโครงสร้างประโยคพื้นฐาน ทักษะการใช้ภาษาจีนในการสื่อสารและการสนทนา
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์โดยประกาศในชั้นเรียน / ผู้เรียนนัดหมายกับอาจารย์ประจำวิชาก่อนล่วงหน้า
มีวินัย และซื่อสัตย์สุจริต
มอบหมายงานให้ทำด้วยตนเอง ไม่ลอกงานผู้อื่น ไม่ทุจริตในการสอบ เข้าชั้นเรียน ส่งงานและเข้าสอบตามเวลา
การเข้าชั้นเรียน ผลงานที่ได้รับมอบหมาย ผลการสอบ
1. มีความรู้ ความเข้าใจ คำศัพท์ สำนวน ที่ใช้ในวิตประจำวัน
2. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างของประโยคพื้นฐานภาษาจีน
3.มีความรู้ ความข้าใจทักษะในการสื่อสารภาษาจีนในวิตประจำวัน
1. ศึกษาล่วงหน้าตามหัวข้อที่มอบหมาย
2.เข้าฟังบรรยายสรุป
3. มอบหมายงานให้ฝึกทักษะ
1.ทดสอบย่อย
2.สอบกลางภาคและปลายภาค
3.งานที่มอบหมาย
1. สามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับคำศัพท์ภาษาจีนที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้
2.สามารถให้ข้อมูลสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ในรูปแบบของการสนทนาตามหัวข้อต่าง ๆ ได้
2.สามารถสื่อสารตามสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้
1. กำหนดสถานการณ์ให้ผู้เรียน ฝึก ตอบคำถาม ด้วยคำศัพท์ ที่กำหนดให้
2. กำหนดสถานการณ์ให้ผู้เรียน ให้ข้อมูล ด้วยประโยค ที่กำหนดให้
3.ให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตัวเอง
4.ผู้เรียนนำเสนอผลงานที่ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองในชั้นเรียน และ โปรแกรมสำเร็จรูป ที่กำหนด
1. การตอบคำถาม การให้ข้อมูลของผู้เรียน
2.การนำเสนอผลงานทั้งแบบเดี่ยว และแบบกลุ่ม
2.การมีส่วนร่วมของเพื่อนร่วมชั้น
1.การศึกษาด้วยตัวเองตามหัวข้อที่เลือก
2.การนำเสนอผลงานของผู้เรียนหน้าชั้นเรียน
1.มอบหมายงานให้แต่ละบุคคล
2.มอบหมายให้ทำงานเป็นกลุ่ม 3.นำเสนองานในชั้นเรียน และ ผ่านโปรแกรมสำเร็จรูป
การตอบข้อสงสัยของเพื่อนร่วมชั้น และอาจารย์
1.ใช้ภาษาจีนได้อย่างถูกต้อง
2.ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อหาการเรียนรู้
3.ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเรียนและนำเสนองานได้
1.มอบหมายงานเพื่อฝึกฝนการการใช้คำศัพท์ รูปประโยค
2.การให้ข้อมูลตามสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ตามที่กำหนด และ การศึกษาด้วยตัวเอง
1.จากการนำเสนอผลการฝึกปฏิบัติ
สามารถใช้ภาษาจีนในการสื่อสารชีวิตประจำวันได้
มอบหมายให้ผู้เรียนสร้างบทสนทนาด้วยด้วยตัวเองทั้งแบบเดี่ยวและคู่
การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ความรู้ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ศึกษาล่วงหน้าตามหัวข้อที่มอบหมาย 2.เข้าฟังบรรยายสรุป 3. มอบหมายงานให้ฝึกทักษะ มอบหมายให้ทำงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอหน้าชั้นเรียน มอบหมายงานเพื่อฝึกฝนการแนะนำ การให้ข้อมูลตามสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
1 BOATH149 ภาษาจีนพื้นฐาน 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 2.1 แบบฝึกหัดรายบุคคล 1-13 10%
2 1.1, 1.2, 2.1, 3.2 สอบย่อย สอบกลางภาค 2-13 30%
3 1.1, 1.2, 2.1, 2.3, 3.2, 3.3, 4.2, 4.3 นำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย 7,8,14,17 20%
4 1.1, 1.2, 4.3 การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 1-17 10%
5 1.1, 1.2, 2.1, 2.3, 2.3, 3.2, 3.3, สอบปลายภาค 18 30%
姜丽萍;สัมผัสภาษาจีน《体验汉语》基础教程1 ,6, 2008, 高等教育出版社。
ไม่มี
พจนานุกุมไทย-จีน 
1.1 การทดสอบย่อยรายบุคคลและแบบกลุ่ม
1.2 ใช้แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.3 ให้นักศึกษาเสนอความคิดเห็นโดยการสรุปผลการนำเสนอโดยการเขียนและการพูด
2.1 ผลการเรียนและผลการสอบ
2.2 สัมภาษณ์ผู้เรียน
3.1 สรุปปัญหาในแต่ละเรื่องที่สอนเพื่อหาแนวทางปรับปรุง
3.2 ผลการทดสอบย่อยรายบุคคล ปรับปรุงเป็นรายบุคคล
3.3 ผลการนำเสนอจากการมอบหมายงานทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
4.1 ให้อาจารย์ผู้สอนร่วม ร่วมตรวจทานผลการเรียน การประเมินผลการเรียน เพื่อความถูกต้อง
4.2 ให้อาจารย์ในหมวดวิชาเป็นกรรมการตรวจดูการให้คะแนนการสอบ เพื่อสอบถามข้อสงสัยต่างๆ
5.1 ให้ศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อเนื้อหาการเรียน วิธีการเรียนการสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง
5.2 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3-4 ปี ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษาผู้ประเมิน