วิศวกรรมการอบแห้ง

Drying Engineering

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGME168 วิศวกรรมการอบแห้ง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 และ 1.3 การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วม และเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 4.2-4.4, 5.1-5.5 การบ้าน และงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 2.1-2.4, 3.1-3.5 สอบย่อย - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 3, 6, 12 และ 15 - 9 - 17 20%, 20% และ 30% ตามลำดับ
สมชาติ โสภณรณฤทธิ์, 2540, การอบแห้งเมล็ดพืชและอาหารบางประเภท, พิมพ์ครั้งที่ 7, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพ.
ชัยวัฒน์ รัตนมีชัยสกุล, 2564, การจำลองการอบแห้งสำหรับเมล็ดพืชและวัสดุฃีวภาพ, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ ลาดกระบัง, กรุงเทพ.
สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา, 2555, การอบแห้งอาหารและวัสดุชีวภาพ, ท้อป, กรุงเทพ.
Kudra, T. and  Mujumdar, A.S., 2009, Advanced drying technologies, 2nd ed., Taylor & Francis, Boca Raton. 2.2 Devahastin, S., 2000, Mujumdar's practical guide to industrial drying, Thananuch Business, Bangkok.  
ตำราหรือเอกสาร และเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรงต่อเวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลรายวิชาและการใช้สื่อการสอน
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในด้านทักษะกลยุทธ์การสอน และการใช้สื่อการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน ประกอบกับการสังเกตและหาวิธีที่จะปรับปรุงการสอนให้ดี
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ