การบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับการท่องเที่ยวและการบริการ

Human Resource Management for Tourism and Hospitality

8.1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับการท่องเที่ยวและการบริการ ทำให้นักศึกษามีองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานได้
8.2. นักศึกษาได้ทราบถึงกระบวนการในการทำงานตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย ทำให้นักศึกษาเข้าใจกระบวนการทำงาน และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
8.3. นักศึกษาสามารถนำเอาทักษะและองค์ความรู้ไปประยุกต์หรือปรับใช้ในชีวิตประจำวัน หรือการทำงานในอนาคตได้
2.1 เพื่อปรับรูปแบบและเนื้อหาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบันมากขึ้น
2.2 เพื่อทบทวนแผนการสอนให้สอดคล้องกับผลลัพท์การเรียนรู้ของหลักสูตร
แนวคิด หลักการ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ การวิเคราะห์และวางแผนงาน การสรรหาและคัดเลือก การบรรจุและการแต่งตั้ง บุคลากร การบริหารค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ การพัฒนาและการฝึกอบรมพนักงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการแก้ไขปัญหาและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
3 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.  มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น  
1. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ 2. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน 3. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Coad) ที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณ 4. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
1. สังเกตการณ์แสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน 2. ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน 3. กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
1.  มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2.  มีความรู้เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง  
1.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ 2.  มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม 3.  อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 4.  การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน
1.  ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน 2.  ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค 3.  ประเมินจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน 4.  ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
1.  มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 2.  มีความสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
1.  การอภิปรายเป็นกลุ่ม 2.  การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา 3.  การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
1.  ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ 2.  การสอบข้อเขียน 3.  การเขียนรายงาน
1.  มีความสามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรงตามมาตรฐานสากล  
1.  มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม 2.  สอนโดยใช้กรณีศึกษา
1.  ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน 2. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
1.  มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.  สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.  นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน 2.  บูรณาการการโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสิ่งต่างๆ
1.  ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ 2.  ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 3.  ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
1.  มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ  
1.  ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ 2. จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก
1.  ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน 2.  ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BOATH106 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับการท่องเที่ยวและการบริการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 จิตพิสัย/กิจกรรมในชั้นเรียน - สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 1.1, 2.1, 3.1, 4.1, 5.1, 6.1 งานที่ 1 งานนำเสนอการบริหารทรัพยากรมนุษย์สำหรับองค์กร/ธุรกิจของตนเองที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและการบริการ + รูปเล่มรายงานเชิงสร้างสรรค์ 1 เล่ม (งานกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน) ตลอดภาคการศึกษา /17 10%
3 1.1, 2.1, 3.1, 4.1, 5.1, 6.1 งานที่ 2 งานนำเสนอแนวคิดและหลักการการจัดการเชิงกลยุทธ์ วิธีการและการวางแผนเชิงกลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์จากบุคคลสำคัญที่ประสบผลสำเร็จในการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรของตนเอง (งานเดี่ยว) 5 5%
4 1.1, 2.1, 3.1, 4.1, 5.1, 6.1 งานที่ 3 งานนำเสนอแนวคิดการจูงใจทรัพยากรมนุษย์ (งานกลุ่ม) 8 5%
5 1.1, 2.1, 3.1, 4.1, 5.1, 6.1 งานที่ 4 โครงการบูรณาการการส่งเสริมทุนทางวัฒนธรรมสำหรับกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR Project) (งานกลุ่ม) 14/17 10%
6 2.1, 3.1, สอบกลางภาค 10 30%
7 2.1, 3.1, สอบปลายภาค 18 30%
1. จิตตินันท์ นันทไพบูลย์. (2554). การจัดการทรัพยากรบุคคลในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2. บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : หจก.เฟริ์นข้าหลวงพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
3. พิชิต เทพวรรณ์. (2554). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ : แนวคิดและกลยุทธ์เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน.  กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
4. ราณี อิสิชัยกุล. (2555). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5. สกล บุญสิน. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. เชียงใหม่ : ศูนย์บริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถาม ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ