ประวัติศาสตร์ศิลป์

History of Art

1. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม และงานหัตถกรรม ศิลปกรรมที่สำคัญของโลก โดยเฉพาะภูมิภาคเอเชีย ลักษณะ รูปแบบ และวิวัฒนาการ ของศิลปะตามยุคสมัยงานศิลปะที่พบในประเทศไทย
2. นักศึกษาสามารถนำเอาองค์ความรู้ไปประยุกต์หรือปรับใช้ในชีวิตประจำวัน หรือการทำงานในอนาคตได้
-พัฒนาสื่อการเรียนการสอนรู้ ให้ทันตามสถานการณ์ในปัจจุบัน
ศึกษาลักษณะทางภูมิศาสตร์ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม และงานหัตถกรรม ศิลปกรรมที่สำคัญของโลก โดยเน้นภูมิภาคเอเชีย ลักษณะ รูปแบบ และวิวัฒนาการของศิลปะตามยุคสมัยงานศิลปะที่พบในประเทศไทย เน้นการสร้างงานเพื่อพุทธศาสนา
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์หลักสูตร
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
1. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
2. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
3. สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ
4. การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ
5. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
)  ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย
2)  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
5)  ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน
มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
2. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ
3. อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
4. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน
5. ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ
6. ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้นๆ
1. ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน
2. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
3. ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
4. ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
1. ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย
2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม
3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
2. การสอบข้อเขียน
3. การเขียนรายงาน
มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
1. บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ
2. มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษา
1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)
3. ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน
4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน
2. บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ
1. ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
3. ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์
4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BOATH122 ประวัติศาสตร์ศิลป์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 จิตพิสัย (การเข้าเรียน / การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน / การตรงต่อเวลา / บุคลิกภาพกาแต่งกาย) ตลอดปีการศึกษา 10%
2 รายงานกลุ่ม (Group presentation) - การนำเสนอในชั้นเรียน (5 คะแนน) - เล่มรายงาน (5 คะแนน) 10%
3 งานที่ได้รับมอบหมายรายบุคคล (Assignment) 10%
4 การทดสอบปฏิบัติการบรรยายรายบุคคล 15%
5 สอบกลางภาค 9 35%
6 โครงงานบูรณาการการบรรยายนำชมสถานที่ท่องเที่ยว (Term Project) - การบรรยายนำชม ( 10 คะแนน) - เล่มรายงาน ( 10 คะแนน) 20%
รุ่งโรจน์   ธรรมรุ่งเรือง. ปราสาทขอมในดินแดนไทย: ความเป็นมาและข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ. กรุงเทพฯ: มติชน2551.
รุ่งโรจน์   ธรรมรุ่งเรือง.พระพุทธปฏิมาสยาม. กรุงเทพฯ: มิวเซียมเพรส,2553.
ศักดิ์ชัย   สายสิงห์. ศิลปะสุโขทัย: บทวิเคราะห์หลักฐานโบราณคดีจารึกและศิลปกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2547.
สันติ   เล็กสุขุม. ข้อมูลกับมุมมอง: ศิลปะรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2548.
สันติ   เล็กสุขุม. เจดีย์: ความเป็นมาและคำศัพท์เรียกองค์ประกอบเจดีย์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2552.
สันติ   เล็กสุขุม. ประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทย(ฉบับย่อ) : การเริ่มต้นและการสืบเนื่องงานช่างในศาสนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2560
สันติ   เล็กสุขุม. ศิลปะสุโขทัย. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2555.
สันติ   เล็กสุขุม. ศิลปะอยุธยา: งานช่างหลวงแห่งแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2560
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 คณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรแต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
4.2 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามกรอบเวลาที่ทางหลักสูตรกำหนด
4.3 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย
4.4 ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3   ลงพื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวของกับรายวิชาเพื่อบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัย
5.4   ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาที่ได้จากการวิจัย