ธุรกิจการบิน

Airline Business

1.1 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจธุรกิจการบิน ที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ภูมิศาสตร์การบิน กฎและระเบียบการจราจรทางอากาศ ตารางเวลากำหนดการบิน ชนิดของเครื่องบินและประสิทธิภาพการบิน
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับงานบริการภาคพื้นดินและบนเครื่องบิน ระบบการจอง และการลงทะเบียนเบื้องต้น
1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระเบียบพิธีการเข้า-ออกระหว่างประเทศ และศึกษาดูงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับธุรกิจการบิน ซึ่งมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การปรับตัวของอุตสาหกรรมการบิน รวมถึงเป็นการประเมินผลกระทบสถานการณ์โลกในปัจจุบัน
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับธุรกิจการบิน ซึ่งมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การปรับตัวของอุตสาหกรรมการบิน รวมถึงเป็นการประเมินผลกระทบสถานการณ์โลกในปัจจุบัน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านช่องทางสื่อออนไลน์
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
2. สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
3. สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
6. การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
2)  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
2)  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
2)  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
2)  สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
3)  ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
4)  กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก
2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม
3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม
3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
4. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
3. นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ
1. ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ
2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3. มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อพัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้ 2. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล 3. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม 1. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 2. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ 3. มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
1 BOATH109 ธุรกิจการบิน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,4.1 -สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน -สังเกตพฤติกรรมในการเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 2.1,2.2,2.3 -ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาค -สอบปลายภาค (ชิ้นงาน) -ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน -ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน(ชิ้นงาน) -ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาค -สอบปลายภาค (ชิ้นงาน) -ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน -ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน(ชิ้นงาน) 50%
3 2.1, 3.1,3.3, 4.1,5.1,6.1 -ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน -ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน -ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน -ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ -การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 40%
นระ คมนามูล. (2551). เทคโนโลยีการบินและกิจการท่าอากาศยาน. กรุงเทพฯ: โครงการหนังสือแพร่วิทยาการเพื่อการพัฒนาประเทศ.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). อุตสาหกรรมการบินและการจัดจำหน่ายตั๋วโดยสาร. กรุงเทพฯ: เพรส แอนด์ ดีไซด์
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2551). ธุรกิจการบิน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิชาการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.
พรนพ พุกกะพันธุ์. (2548). ธุรกิจการบิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมยศ วัฒนากมลชัย.(2557)ธุรกิจการบิน.พิมพ์ครั้งที่19 กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
Budd, L., & Ison, S. (Eds.). (2016). Air Transport Management: An International Perspective. Taylor & Francis. 
หนังสือและวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทของบัณฑิตวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยต่างๆในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการบิน เว็ปไซต์องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
วารสารวิชาการ วารสารด้านการวิจัย  นิตยสาร เว็ปไซต์องค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รายงานการดำเนินงานประจำปีขององค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง ที่นักศึกษาสามารถศึกษาค้นคว้าข้อมูลได้ด้วยตนเอง
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้ฟ
1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้        
· วันแรกของการเรียนอาจารย์ผู้สอนอธิบายทำความเข้าใจรายวิชากระบวนการจัดการเรียนการสอน เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินในรายวิชา
· ความตรงต่อเวลา
· การแต่งกาย บุคลิกภาพ
· คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม
· การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน
· ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เขาใจและกระตุ้นการเรียนรู้
· แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์ของหัวข้อที่สอน
· จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา
· การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน
1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้
· ความรู้ความสามารถโดยรวมและประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนวิชานี้
· ความพึงพอใจต่อการเรียนวิชานี้
ข้อเสนอแนะอื่นๆ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ประจำหลักสูตร ดำเนินการดังต่อไปนี้
2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนด
2.2 อาจารย์ผู้สอนประเมินจากการสอนตนเอง ดูจากการส่งงานของนักศึกษา การขอพบที่ปรึกษาในรายวิชา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษาปัญหาและอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข
สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการบริการมีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอน ดังนี้
3.1 การประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การประเมินการสอนของตนเองและสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
3.2 ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับนักศึกษารุ่นต่อไป
3.3 อาจารย์ผู้สอนพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา

ผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา คือ การทวนสอบโดยวิธีการสอบย่อย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เชิญอาจารย์ผู้สอนหรือวิทยากรภายนอกเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในธุรกิจการบินได้