ปฏิบัติงานเชื้อเพลิงแก๊สรถยนต์

Automotive Car Fuel Practice

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับคุณสมบัติของเชื้อเพลิงแก๊ส หลักการทํางานการติดตั้งชิ้นส่วนอุปกรณ์ การปรับแต่ง และการปรับปรุงสภาพเครื่องยนต์ ให้เหมาะสมกับการใช้เชื้อเพลิงแก๊ส การตรวจซ่อม บํารุงรักษาและวิเคราะห์ปัญหาการทํางาน ระบบเชื้อเพลิงแก๊สกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้และการติดตั้ง อุปกรณ์แก๊สยานยนต์ การประมาณราคาค่าบริการ
๑. เพื่อศึกษาคุณสมบัติของเชื้อเพลิงแก๊ส
          ๒. เพื่อให้เข้าใจหลักการทํางานการติดตั้งชิ้นส่วนอุปกรณ์ การปรับแต่ง
          ๓. เพื่อให้เข้าใจหลักการการปรับปรุงสภาพเครื่องยนต์ ให้เหมาะสมกับการใช้เชื้อเพลิงแก๊ส
          ๔. เพื่อให้สามารถตรวจซ่อมบํารุงรักษาและวิเคราะห์ปัญหาการทํางาน ระบบเชื้อเพลิงแก๊ส
          ๕. เพื่อศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้และการติดตั้งอุปกรณ์แก๊สยานยนต์
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับคุณสมบัติของเชื้อเพลิงแก๊ส หลักการทํางานการติดตั้งชิ้นส่วนอุปกรณ์ การปรับแต่ง และการปรับปรุงสภาพเครื่องยนต์ ให้เหมาะสมกับการใช้เชื้อเพลิงแก๊ส การตรวจซ่อมบํารุงรักษาและวิเคราะห์ ปัญหาการทํางาน ระบบเชื้อเพลิงแก๊สกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้และการติดตั้งอุปกรณ์แก๊สยานยนต์ การประมาณ ราคาค่าบริการ
- อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาผ่านบอร์ดประกาศข่าวสารของสาขา วิศวกรรมเครื่องกล
          - อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะ รายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วน บุคคล รู้จักกฎหมายระหว่างประเทศ ไม่ละเป็นการทํางานของผู้อื่น รู้จักลิขสิทธิ์ทางปัญญาทางด้าน การผลิต การมุ่งมั่งที่จะเสริมสร้างการพัฒนาทางด้านวัสดุช่วยสอนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ประเทศต่อไป ดังนี้
                   ๑.๑.๑   ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
                   ๑.๑.๒   มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 
                   ๑.๑.๓   มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อ                                 ขัดแย้งและลําดับความสําคัญ
                   ๑.๑.๔   เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ                     ความเป็นมนุษย์
                   ๑.๑.๕   เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
                   ๑.๑.๖   สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการพัฒนาวัสดุช่วยสอนในปัจจุบัน
                   ๑.๑.๗   มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
๑.๒.๑   บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับ                           ระบบการสอนในปัจจุบัน เพื่อที่จะเสริมสร้างความรู้เรื่องของการพัฒนาวัสดุช่วย                          สอน
                   ๑.๒.๒   อภิปรายกลุ่ม
                   ๑.๒.๓   กําหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกําหนดบทบาทสมมุติ
๑.๓.๑   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรง                     เวลา             
                   ๑. ๓.๒ มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นํามาทํารายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
                   ๑.๓.๓   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
                   ๑.๓.๔   ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในหลักการ ความสําคัญ องค์ประกอบของระบบการพัฒนาวัสดุช่วยสอน ภาระหน้าที่ ของผู้เกี่ยวข้องการพัฒนา ประเภทข้อมูล ประโยชน์ของระบบในวัสดุช่วยสอน ความ เกี่ยวข้องของระบบการพัฒนาวัสดุช่วยสอน องค์ประกอบของวัสดุช่วยสอนที่ใช้ในการจัดการระบบ ฐานความรู้ หลักการและขั้นตอนการพัฒนาระบบการพัฒนาวัสดุ จรรยาบรรณ จริยธรรมของ ผู้เกี่ยวข้อง ผลกระทบของการพัฒนาวัสดุต่อบุคคลและสังคม การป้องกันอันตราย หรือภัยจากการ สอนหรือการพัฒนาวัสดุช่วยสอนที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บรรยาย อภิปราย การทํางานกลุ่ม การนําเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ มอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนํามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดยใช้ ปัญหา และโครงงาน Problem - based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
๒.๓.๑   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและ ทฤษฎี
                   ๒.๓.๒   ประเมินจากการนําเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการพัฒนาวัสดุช่วยสอน
๓.๒.๑   การมอบให้นักศึกษาทําโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการ นําเสนอผลงาน
                   ๓.๒.๒   อภิปรายกลุ่ม
                   ๓.๒.๓   วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการประสานงานเกี่ยวกับการพัฒนาวัสดุช่วยสอน
                   ๓.๒.๔   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
๓.๓.๑   สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือ วิเคราะห์แนวคิดในการพัฒนาวัสดุหรือการสอน
                   ๓.๓.๒ วัดผลจากการประเมินโครงการ การนําเสนอผลงาน
                   ๓.๓.๓ สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
๔.๑.๑ พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
                   ๔.๑.๒ พัฒนาความเป็นผู้นําและผู้ตามในการทํางานเป็นทีม
                   ๔.๑.๓ พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกําหนดเวลา
๔.๒.๑ จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
                   ๔.๒.๒ มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของการพัฒนา วัสดุ การนําตัวอย่างการพัฒนาวัสดุในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับ รายวิชา
                   ๔.๒.๓ การนําเสนอรายงาน
๔.๓.๑ ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กําหนด
                   ๔.๓.๒ ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ พฤติกรรมการทํางานเป็นทีม
                   ๔.๓.๓ ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
๕.๑.๑ ทักษะการคิดคํานวณ เชิงตัวเลข
                   ๕.๑.๒ พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทํารายงาน และนําเสนอในชั้นเรียน
                   ๕.๑.๓ พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
                   ๕.๑.๔ พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
                   ๕.๑.๕ ทักษะการเรียนรู้เรื่องของระบบการพัฒนาวัสดุช่วยสอน
                   ๕.๑.๖ ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
๕.๒.๑ มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E. Learning และทํารายงานโดยเน้นการนําตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
                   ๕.๒.๒ นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
๕.๓.๑ ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
                   ๕.๓.๒ ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 3 1. 1. 1. 1 1.
1 TEDME928 ปฏิบัติงานเชื้อเพลิงแก๊สรถยนต์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑-๕ ๖-๘ สอบกลางภาค สอบปลายภาค ๙ ๑๕ ๑๐% ๒๐%
2 การทํางานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาศ การศึกษา ๖๐%
3 การเข้าชั้นเรียน จิตพิสัย ตลอดภาศ การศึกษา ๑๐%
หนังสืองานเชื้อเพลิงแก๊สยานยนต์
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทําโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
                   ๑.๑ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
                   ๑.๒ แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
                   ๑.๓ ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทําเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
                   ๒.๑ ผลการเรียนของนักศึกษา
                   ๒.๒ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
                   ๓.๑ สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
                   ๓.๒ การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
                   ๔.๑ การทบทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร
                   ๔.๒ มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
                   ๕.๑ ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ตามข้อ ๔
                   ๕.๒ เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับ ปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ