สถิติ

Statistics

ทราบความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ เข้าใจวิธีการหาความน่าจะเป็น รู้ความหมายของตัวแปรสุ่ม เข้าใจการแจกแจงของตัวแปรสุ่ม รู้และเข้าใจวิธีการสุ่มตัวอย่าง เข้าใจการแจกแจงของค่าสถิติ เข้าใจหลักการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน เข้าใจหลักการทดสอบไคสแควร์ เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัยต่างๆ ประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
นำผลลัพธ์ที่ได้มาปรับปรุงวิธีการสอน ให้ทันสมัยและเหมาะสมกับเนื้อหา ตลอดจนให้นักศึกษาเห็นความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาที่เรียนและวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางสถิติ ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม การสุ่มตัวอย่าง การแจกแจงของค่าสถิติ การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐานกลุ่มเดียวและสองกลุ่ม และการทดสอบไคสแควร์
The study of preliminary statistics, probability, random variable, random variable distribution, Sampling, Sampling distribution, estimation and hypothesis testing of one and two sample, and chi-square testing
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (ทุกวันพุธ เวลา 15.00-17.00)
1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1  ให้ความสำคัญในวินัย  การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.2  สอดแทรกการมีจิตสำนึกสาธารณะระหว่างการเรียนการสอน เช่น การดูและรักษาความสะอาดห้องเรียน
1.2.3  ยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม  และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.2.4  ทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้สอนและนักศึกษาเกี่ยวกับกฎระเบียบต่างๆ ในชั้นเรียน
1.3.1  ให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และคะแนนความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางสถิติ ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม การสุ่มตัวอย่าง            การแจกแจงของค่าสถิติ การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐานกลุ่มเดียวและสองกลุ่ม และการทดสอบไคสแควร์
2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1  ใช้การสอนหลายรูป เช่น แบบบรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน กรณีศึกษา 
2.2.2  ให้นักศึกษาสืบค้นตัวอย่างการนำความรู้ในวิชาไปใช้ในชีวิตประจำวัน  ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม  พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
2.2.3  วิเคราะห์กรณีศึกษาทางด้านวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน
2.3.1  การทดสอบย่อย  ทดสอบกลางภาค  ทดสอบปลายภาค
2.3.2  พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
2.3.3  พิจารณาให้คะแนนจากการนำเสนองาน   
3.1.1  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1  บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียน การสอนแบบตั้งคำถาม  การสอนแบบกรณีศึกษา
3.2.2  ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ ให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์  พร้อมทั้งสรุปและนำเสนอ
3.3.1  การทดสอบย่อย  ทดสอบกลางภาค  ทดสอบปลายภาค
3.3.2  พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
3.3.3  พิจารณาให้คะแนนจากการนำเสนองาน   
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม โดยให้หมุนเวียนกันเป็นผู้นำ และผู้นำเสนอ
4.2.2 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.2.3 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
4.3.1  พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
4.3.2  พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองาน
4.3.3  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1  มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
5.2.2  กำหนดให้นักศึกษานำเสนองาน  โดยใช้รูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเนื้อหา
5.3.1  พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย
5.3.2  พิจารณาให้คะแนนจากการนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.3  มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าเนื้อหาที่เรียน
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 2. ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4
1 FUNMA109 สถิติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1. ให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และคะแนนความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน ทุกสัปดาห์ 5%
2 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางสถิติ ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม การสุ่มตัวอย่าง การแจกแจงของค่าสถิติ การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐานกลุ่มเดียวและสองกลุ่ม และการทดสอบไคสแควร์ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - พิจารณาให้คะแนนจากงานที่มอบหมาย - พิจารณาให้คะแนนการจากนำเสนองานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม - สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงานเป็นกลุ่ม - มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อค้นคว้าเนื้อหาที่เรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางสถิติ ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม การสุ่มตัวอย่าง การแจกแจงของค่าสถิติ การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐานกลุ่มเดียวและสองกลุ่ม และการทดสอบไคสแควร์ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ ทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค ทดสอบย่อย สอบกลางภาคสัปดาห์ที่ 9 สอบปลายภาคสัปดาห์ที่ 18 สอบย่อยระหว่างสัปดาห์ที่ 1 - 17 จำนวน 3 ครั้ง สอบกลางภาค 30% สอบปลายภาค 30% สอบย่อย 30%
แผนกคณิตศาสตร์ (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาสถิติ. เชียงใหม่ : แผนกคณิตศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตร.
-
     ชัชวาล  เรืองประพันธ์ (2544). สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น : ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ 
             มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
     ประไพศรี  สุทัศน์ ณ อยุธยา และ พงศ์ชนัน  เหลืองไพบูลย์ (2549). สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ :
             บริษัท สำนักพิมพ์ท้อป จำกัด กรุงเทพฯ.
     สายชล  สินสมบูรณ์ทอง (2550).สถิติวิศวกรรม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติประยุกต์ 
             คณะวิทยาศาสตร์  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
     เอกสาร / ตำรา / หนังสือ / แหล่งออนไลน์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถิติ
1.1  นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนออนไลน์  ผ่านเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
1.2  ให้นักศึกษาทำแบบสอบถาม  เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในภาคเรียน
2.1  ประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนร่วมในรายวิชา
2.2  ประเมินผลการเรียนการสอนโดยหัวหน้ากลุ่มวิชาคณิตศาสตร์
3.1  นำผลการประเมินของนักศึกษาและผลจากแบบสอบถามจากนักศึกษามาทบทวน  และปรับปรุงการเรียนการสอน
3.2  นำผลการประชุมร่วมระหว่างอาจารย์ผู้สอนมาปรับปรุงการเรียนการสอน
3.3  ทำวิจัยในชั้นเรียน
4.1  บันทึกหลังการสอนรายคาบ
4.2  ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
4.3  แจ้งคะแนนสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ
4.4  ใช้ข้อสอบร่วม
5.1  บันทึกหลังการสอนรายคาบ
5.2  ประชุมผู้สอนร่วม
5.3  ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม