การจัดการทรัพยากรมนุษย์และทุนมนุษย์

Human Resource and Human Capital Management

เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ความเป็นมาทฤษฎีและหลักการในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ขอบข่าย หน้าที่ ความรับผิดชอบ และขั้นตอนในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การวิเคราะห์งาน การวางแผนกำลังคน การสรรหา การคัดเลือก การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การประเมินผล การบริหารค่าตอบแทน แรงงานสัมพันธ์ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้นักศึกษา ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ อภิปราย นำเสนอ และนำผลการศึกษาค้นคว้าไปประยุกต์ใช้ได้ รวมทั้งมีทักษะการนำเสนอผลการศึกษาตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมายได้ และมีทักษะกระบวนการทำงานกลุ่ม และสามารถร่วมมือกับกลุ่มนำเสนอรายงานได้ถูกต้องตามกระบวนการอย่างน้อย 1 เล่ม เพื่อให้นักศึกษา สามารถใช้โปรแกรมเบื้องต้นในการเขียนรายงาน และนำเสนอผลการศึกษาตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมายได้ เพื่อให้นักศึกษา มีเจตคติที่ดีต่อวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และมีคุณธรรมและจรรยาบรรณของนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ดี มีคุณภาพ ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบงานในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานในอนาคต ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ความหมายและโครงสร้างของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การวิเคราะห์งาน การกำหนดรายละเอียดของงานและคุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร การเริ่มต้นงานและการปฐมนิเทศ การฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร การบริหารค่าจ้างและเงินเดือน การประเมินผล การปฏิบัติงาน การเลื่อนตำแหน่งและการโยกย้าย ขวัญและการจูงใจของพนักงาน การใช้ภาวะผู้นำ แรงงานสัมพันธ์ การจัดสวัสดิการต่าง ๆ ของพนักงาน การออกจากงาน อุบัติเหตุและความปลอดภัยจากการทำงาน จริยธรรมในการบริหารงาน ทรัพยากรมนุษย์ การวิจัยงานการจัดการทรัพยากรมนุษย์
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ดังนี้             3.1  วันพุธ (คาบกิจกรรม) เวลา 15.00 - 17.00 น.  ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาการจัดการ             3.2   E-mail: piya_mk@hotmail.com
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่นไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม 1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักใน การดำเนินชีวิต โดยยึดแนวคิดความ พอประมาณ ความมีเหตุผลและ การสร้างภูมิคุ้มกัน 1.4 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์การและสังคม 1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่จะ แยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
1.2 วิธีการสอน
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดย การเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้อง ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. กำหนดงานเป็นกลุ่มย่อย เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เกิดจิต สำนึกในการมีคุณธรรม จริยธรรม 4. ให้การยกย่องชมเชยผู้ที่มีความ ซื่อสัตย์เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี 5. กำหนดระเบียบลงโทษผู้ทุจริต การสอบ 6. มีกิจกรรมที่ส่งเสริมในเรื่องความ เสียสละเพื่อส่วนรวมและบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม   
1.3 วิธีการประเมินผล
1.ประเมินจากเวลาการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาและเวลาการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ประเมินจากผลงานกลุ่มและ ความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน 3. จำนวนการเข้าร่วมกิจกรรม บำเพ็ญประโยชน์หรือกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ 4. ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำ ใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1 มีความรู้ความเข้าใจในสาระ สำคัญของศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานที่ จำเป็นสำหรับการเรียนด้าน บริหารธุรกิจ ที่ครอบคลุมทั้ง การบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 2.2 มีความรู้และความเข้าใจใน สาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดการองค์กรและ ทรัพยากรมนุษย์ 2.3 มีความรู้และความเข้าใจ ในสาระ สำคัญเกี่ยวกับกระบวน การบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การปฏิบัติการ การควบคุมและการ ประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าว หน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจใน สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผล กระทบอย่างเท่าทัน
2.2 วิธีการสอน
1. ใช้การเรียนการสอนในหลาก หลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติใน สภาพแวดล้อมจริง 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์ จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษ 3. จัดการฝึกปฏิบัติงานในสถาน ประกอบการ
2.3 วิธีการประเมินผล
1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากงานที่มอบหมาย นักศึกษา 4. ประเมินจากการนำเสนอ ผลงาน 5. ประเมินจากแผนธุรกิจ หรือโครงการที่นำเสนอ 6. ประเมินจากผลการฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถ บูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการ บริหารธุรกิจใหม่ ๆ 3.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการ แก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่าง เหมาะสม 3.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ 3.4 มีความกล้าในการตัดสินใจ เลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับ สถานการณ์
3.2 วิธีการสอน
1. กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนด ให้นักศึกษาวางแผนการทำงาน เป็นทีม 2. ใช้สถานประกอบการฝึก ปฏิบัติงานจริง 3. มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็น ผลการศึกษาและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางการแก้ไข 4. เน้นถึงศาสตร์และศิลป์รวม ถึงรูปแบบในการนำเสนอผลงาน แลให้นักศึกษานำเสนอผลงานจริง  
3.3 วิธีการประเมินผล
1.ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา 2. ประเมินจากการทดสอบ โดยใช้แบบทดสอบ โดยออก ข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยการ ประยุกต์ความรู้ที่เรียนมาซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา 3. ประเมินจากผลงานและการ ปฏิบัติงานของนักศึกษา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1 มีความสามารถในการ ประสานงานมีมนุษยสัมพันธ์และ สามารถสร้างสัมพันธ์อันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา 4.2 มีความสามารถในการทำงาน เป็นกลุ่มการประสานงาน การมอบ หมายบทบาทหน้าที่และความรับ ผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงการ เป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ 4.3 มีความกระตือรือร้นและความ สามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่ เหมาะสม 4.4 มีความสามารถในการริเริ่ม แสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ที่อาจ มีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
4.2 วิธีการสอน
1. มอบหมายงานที่ต้องใช้การ ติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน การศึกษา 2. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา 3. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ การระดมความคิดและร่วมกัน ทำงาน 4.มีกิจกรรมส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ เช่นยกย่องชมเชยนักศึกษาที่มี มนุษยสัมพันธ์ดีเด่น   
4.3 วิธีการประเมินผล
1. ประเมินจากพฤติกรรม ในการทำกิจกรรมระหว่างนัก ศึกษาในกลุ่ม 2. ประเมินจากผลงานของ นักศึกษาทั้งรายบุคคลและ รายกลุ่ม 3. มีการร่วมประเมินทั้งอาจารย์ และนักศึกษา
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิง ปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ 5.2 สามารถสื่อสารภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสน เทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน 5.4 สามารถสื่อสารเพื่อ อธิบายและสร้างความเข้าใจได้ อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียน รายงานและการนำเสนอด้วยวาจา 5.5 สามารถสื่อสารด้วบุคลิกภาพ ที่น่าเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ และเทคโน โลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่ม บุคคลที่มีพื้นฐานและแนวคิดที่หลาก หลาย 5.6 ความสามารถนำเทคโนโลยี ไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี 5.7 ความสามารถนำเทคโนโลยี การสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการสื่อสารและดำเนินงาน
5.2 วิธีการสอน
1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์ สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์ เสมือนจริง และนำเสนอแนวทาง แก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิค การประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์   ต่าง ๆ ได้ 3. มีการนำเสนอผลงานด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3 วิธีการประเมินผล
1.ประเมินจากการอธิบายหลัก การเข้าถึงข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน 3. ประเมินจากผลงานและ การนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ประเมินจากการทดสอบ
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
1  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 2  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 3  สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต 4  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล 5  สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์ สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์ เสมือนจริง และนำเสนอแนวทาง แก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้กับสังคม และสามารถทำการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ 3. มีการนำเสนอผลงาน เสวนา และอภิปรายร่วมกัน
1.ประเมินจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม  2. ประเมินจากการสรุป การนำเสนอ และอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน 4. ประเมินจากการทดสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม 1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่จะ แยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว 1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่นไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.4 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์การและสังคม 2.2 มีความรู้และความเข้าใจใน สาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดการองค์กรและ ทรัพยากรมนุษย์ 2.3 มีความรู้และความเข้าใจ ในสาระ สำคัญเกี่ยวกับกระบวน การบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การปฏิบัติการ การควบคุมและการ ประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน 3.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการ แก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่าง เหมาะสม 3.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ 3.4 มีความกล้าในการตัดสินใจ เลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับ สถานการณ์ 4.1 มีความสามารถในการ ประสานงานมีมนุษยสัมพันธ์และ สามารถสร้างสัมพันธ์อันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา 4.2 มีความสามารถในการทำงาน เป็นกลุ่มการประสานงาน การมอบ หมายบทบาทหน้าที่และความรับ ผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงการ เป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ 4.3 มีความกระตือรือร้นและความ สามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น อย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่ เหมาะสม 5.2 สามารถสื่อสารภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสน เทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน 5.4 สามารถสื่อสารเพื่อ อธิบายและสร้างความเข้าใจได้ อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียน รายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
1 BBABA234 การจัดการทรัพยากรมนุษย์และทุนมนุษย์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3, 4.1 การสอบกลางภาค บทที่ 1-6 9 35
2 2.3, 4.1 การสอบปลายภาค บทที่ 7-12 17 35
3 2.3, 4.1 งานมอบหมาย (แบบฝึกหัด) งานมอบหมาย (รายงาน) 1-8, 10-16 20
4 2.3, 4.1 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบในรายวิชา 1-8, 10-16 10
เอกสารประกอบการสอนวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์และทุนมนุษย์
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1.  นิสดารก์  เวชยานนท์.  การบริหารทรัพยากรมนุษย์แบบไทยๆ.  โครงการเอกสารและตำรา           คณะรัฐประศาสนศาสตร์  สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. 2.  พยอม  วงศ์สารสรี. การบริหารทรัพยากรมนุษย์.  สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. กรุงเทพฯ : 2540. 3.  สมชาย  หิรัญกิตติ. การบริหารทรัพยากรมนุษย์.  ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์  จำกัด. กรุงเทพฯ : 2542. 4.  ดนัย  เทียนพุฒ. ธุรกิจของ HR. บริษัท นาโกต้า จำกัด. กรุงเทพฯ : 2546. 5.  เสนาะ  ติเยาว์. การบริหารงานบุคคล. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : 2545. 6.  ประเวศน์  มหารัตน์สกุล. การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.           บริษัท พิมพ์ดี จำกัด. กรุงเทพฯ : 2543 7.  วนิดา วาดีเจริญ. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ จากแนวคิด ทฤษฎี สู่ภาคปฏิบัติ.           บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด : 2556
1.1  อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะการเรียนการสอนในรายวิชานี้ เขียนลงบนกระดาษที่แจกให้ในชั้นเรียน 1.2  ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา
2.1  ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา 
3.1  แก้ไขข้อบกพร่องจากผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา 3.2  แก้ไขข้อบกพร่องจากข้อเสนอแนะจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชาในชั้นเรียน 3.3  การทำวิจัยในชั้นเรียน (ถ้ามี) 3.4 เชิญวิทยากรบรรยายเรื่องเกี่ยวกับเนื้อหาเพื่อให้เห็นภาพสถานการณ์จริงหรือพานักศึกษาดูงานจากสถานประกอบการจริง
 4.1  ทวนสอบคะแนนสอบของนักศึกษาตามจุดประสงค์การสอนแต่ละหน่วยเรียน 4.2  ทวนสอบงานที่มอบหมายของนักศึกษาตามจุดประสงค์กนสอนแต่ละหน่วยเรียน
5.1  ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการประเมินผู้สอน จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา  5.2  วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา 5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหา โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ/หรือจากงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอน (ถ้ามี)