ปฏิบัติงานไฟฟ้าพื้นฐาน

Basic Electrical Practice

ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานไฟฟ้า การต่อสาย การเดินสายแบบต่างๆ การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารและโรงงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ศึกษาเกี่ยวกับศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบวงจรไฟฟ้า ศาสตร์และการพัฒนาทางมาตรฐานไฟฟ้าและความปลอดภัยมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงและมีหัวข้อศึกษาที่น่าสนใจที่ทันสมัยเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาบางหัวข้ออาจไม่ถูกจัดในวิชาใดวิชาหนึ่ง ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเสริมเพิ่มและเติมเต็มความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับมาตรฐานไฟฟ้าและความปลอดภัย สามารถปฏิบัติงานไฟฟ้าเบื้องต้น อาทิ เช่นการต่อวงจร การต่อสาย และสามารถติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารและโรงงานได้
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานไฟฟ้า การต่อสาย การเดินสายแบบต่างๆ การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารและโรงงาน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
š1.2 สามารถจัดการและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู
˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดขอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อมและเป็นแบบอย่างที่ดี
 
1. สอนแบบบรรยาย
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การเขียนบันทึก
4.ปฏิบัติงานกลุ่ม
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การเข้าเรียนตรงต่อเวลา ปฏิบัติงานเสร็จตามวันเวลาที่มอบหมาย
˜ 2.1 มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกขึ้ง และเป็นระบบ
š 2.3 สามารถน่าหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้ามศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
 
แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
˜ 3.1 มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.นิทรรศการ
4.การนำเสนองาน
5.ข้อสอบอัตนัย
6. ข้อสอบปรนัย
7.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
8.การประเมินตนเอง
9.การประเมินโดยเพื่อน
˜ 4.1 แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกชองผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
š 4.3 สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีมช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อชัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.โครงการกลุ่ม
3.นิทรรศการ
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
˜ 5.1 มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเซิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทำให้สามารถเช้าใจองค์ความรู้หรือประเด็นปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
-ใช้  Power point
- มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1.โครงการกลุ่ม
2.การนำเสนองาน
3.การประเมินตนเอง
4.การประเมินโดยเพื่อน
 6.1 แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ที่มีรูปแบบหลากหลายอย่างบูรณาการและสร้างสรรค์
ส่วนการปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย เป็นทักษะทางปัญญา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3.การประเมินตนเอง
4.การประเมินโดยเพื่อน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDME901 ปฏิบัติงานไฟฟ้าพื้นฐาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 2.1, 2.3, 3.1, 4.1, 4.3, 5.1, 6.1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 17 10% 20% 10% 20%
2 2.1, 2.3, 3.1, 4.1, 4.3, 5.1, 6.1 ปฏิบัติใบงาน วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1, 1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชา ปฏิบัติงานไฟฟ้าพื้นฐาน
คณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าฯ,มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545; พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพ, สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์, 2546
ลือชัย ทองนิล, การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้าตามมาตรฐานของการไฟฟ้า; พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ , สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2542
คณะกรรมการมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าฯ, คู่มือการติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในที่อยู่อาศัย หรือ อาคารขนาดเล็ก, กรุงเทพฯ,สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์, 2546.
ลือชัย ทองนิล, การตรวจความปลอดภัยระบบไฟฟ้า; พิมพ์ครั้งที่1, กรุงเทพฯ, สมาคมส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2548.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น วิเคราะห์วงจรไฟฟ้าคำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ