การเงินธุรกิจสมัยใหม่

Modern Business Finance

๑.๑  เพื่อให้รู้แนวคิด ความหมายของการเงินธุรกิจ  และเป้าหมายของการเงินธุรกิจ
        ๑.๒  เพื่อให้รู้และเข้าใจการวางแผนทางการเงิน การวิเคราะห์งบการเงิน 
        ๑.๓  เพื่อให้รู้และเข้าใจมูลคาของเงินตามเวลา การจัดทำงบจ่ายลงทุน
        ๑.๔  เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างทางการเงิน แหล่งเงินทุน เข้าใจการจัดทำต้นทุนของเงินทุน
        ๑.๕  เพื่อให้รู้ที่มาและความสําคัญของเทคโนโลยีการเงินสําหรับธุรกิจ สกุลเงินดิจิทัล
        ๑.๖  เพื่อให้รู้ ธุรกรรมการเงินในยุคดิจิทัล และจรรยาบรรณของนักวางแผนการเงินทางธุรกิจ
        ๑.๗  เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักศึกษาให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐานการเรียนรู้ทั้ง ๕ด้าน                ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
๒.๑  เพิ่มความรูความเขาใจในศาสตรดานบริหารธุรกิจภาษาและการสื่อสารรวมถึงเทคโนโลยีสื่อสารที่ทันสมัย
        ๒.๒  เพิ่มการใช้โปรแกรม ในการวิเคราะห์งบการเงิน
ความหมายของการเงินธุรกิจ หนาที่ เปาหมาย และความสําคัญของการเงินธุรกิจการวางแผนทางการเงิน การวิเคราะหงบการเงิน มูลคาของเงินตามเวลา งบจายลงทุน ตนทุนเงินทุน โครงสรางทางการเงิน ที่มาและความสําคัญของเทคโนโลยีการเงินสําหรับธุรกิจ สกุลเงินดิจิทัล แหลงเงินทุน ธุรกรรมการเงินในยุคดิจิทัลจรรยาบรรณของนักวางแผนการเงินทางธุรกิจ
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาของผู้สอน โดยประมาณ ๖ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
                             ๑)  มีจิตสํานึกสาธารณะและตระหนักในคุณคาของคุณธรรม จริยธรรม
                ๒)  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
                 ๓) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเอง สังคม และสิ่งแวดลอม
                 ๔) เคารพในคุณคาและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย
๑)  กำหนดข้อตกลงเบื้องต้นในการเข้าเรียน การแต่งกายตามระเบียบ การส่งงานหรือแบบฝึกหัดตาม             เวลาที่กำหนด มีวินัยตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์ต่อการสอบ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม                      และสิ่งแวดล้อม มีน้ำใจมีความเสียสละต่อส่วนรวม ยกยองและเชิดชูนักศึกษาที่ทําความดีและ                              เสียสละ
                 ๒)  บรรยายสอดแทรกในเนื้อหาวิชา ในระหว่างทำการสอน เกี่ยวกับ คุณธรรมจริยธรรม                                            จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  มีจิตสำนึกสาธารณะ
๑)  ติดตามการปฏิบัติตามข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียน ตลอดภาคการศึกษา
                ๒)  สังเกตพฤติกรรมในการเข้าเรียน การส่งแบบฝึกหัด หรืองานที่มอบหมาย
                     ๓)  ประเมินจากการปฏิบัติตนในการสอบ
(1) มีความรูและความเขาใจทั้งดานทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
                (2) สามารถติดตามความกาวหนา ใฝรู ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
                               (3) สามารถบูรณาการความรูทางวิชาชีพกับความรูในศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
๑)  ใชการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทํางาน (Work-Integrated Learning : WiL) CDIO         :(Conceiving - Designing-Implementing –Operating) โดยมุงเนนทั้งหลักการทางทฤษฎี และการ    ประยุกตใชความรูในการปฎิบัติในสภาพแวดลอมจริงและใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี              ๒) มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากงบการเงินของธุรกิจจริง ในตลาดหลักทรัพย์ เพื่อใช้     ประกอบการเรียนและทำแบบฝึกหัด รวมทั้ง การศึกษาดูงาน หรือเชิญผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณตรง       มาเปนวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
                              ๓)  การสอนโดยการอภิปรายกลุ่ม และให้นักศึกษาวิเคราะห์จากโจทย์ปัญหา ตัวอย่างงบการเงินจริง สุ่มตัวอย่างกลุ่มมาอภิปรายซักถามในห้องเรียน
๑)  สอบกลางภาค
                ๒)  สอบปลายภาค
                ๓)  สอบย่อย
                    ๔)  ความถูกต้องของการวิเคราะห์จากกรณีศึกษา/งานที่มอบหมาย
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกตความรู และมีความคิดริเริ่มสรางสรรคทั้งทางดาน  วิชาการหรือวิชาชีพ
                               (2) มีทักษะในการนําความรูมาคิดและใชอยางเปนระบบ
๑)  บรรยาย ยกตัวอย่าง ถาม – ตอบในชั้นเรียน
                ๒)  ฝึกการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา การเรียนการสอนที่          หลากหลายโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ และการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทํางาน (Work-        Integrated Learning)/STEM Education
                               ๓)  ให้นักศึกษา ศึกษา ค้นคว้า และวิเคราะห์รายงานการเงิน วิเคราะห์ความคุ้มทุนของการลงทุน           ธุรกิจที่นักศึกษามีความสนใจ หรือ กรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมาย และ นำเสนอในชั้นเรียน 
๑)  สอบกลางภาค
                ๒)  สอบปลายภาค
                ๓)  การตอบปัญหาในชั้นเรียน การแก้ปัญหาโจทย์แบบฝึกหัดและปัญหาต่างๆ
                ๔)  คุณภาพของงาน รายงานการวิเคราะห์งบการเงิน ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ และรายงาน การนำ ความรู้ทางการเงินธุรกิจประยุกต์ใช้กับ วิสาหกิจชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพ
(1) มีมนุษยสัมพันธและมารยาทสังคมที่ดี
                (2) มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม
                (3) สามารถทํางานเปนทีมและแกไขขอขัดแยงไดอยางเหมาะสม
                               (4) สามารถใชความรูในศาสตรมาชวยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
๑)  มอบหมายให้ทำรายงานกลุ่มย่อย กรณีศึกษากลุ่ม ละ  3 - 5 คน การกําหนดกิจกรรมกลุม การ ทํางานที่ตองประสานงานกับผูอื่น หรือคนควาหาขอมูลจากการสัมภาษณ
                               ๒)  อภิปรายกลุ่มย่อยจากกรณีศึกษา
๑)  ประเมินผลจากการรายงาน
                ๒)  ประเมินผลจากกรณีศึกษาที่มอบหมาย
                               ๓)  นักศึกษาในกลุ่มประเมินผล
๑)  เลือกใชวิธีการและเครื่องมือสื่อสารไดเหมาะสม
                       ๒)  สืบคน ศึกษา วิเคราะหและประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อแกไขปญหาอยางเหมาะสม
                 ๓)  ใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศ ในการสื่อสารไดอยางถูกตองตามกาลเทศะและ
                                         สอดคลองกับวัฒนธรรมสากล
๑)  สืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับงบการเงินของธุรกิจที่นักศึกษามีความสนใจจากเวปไซด์ เพื่อนำมาวิเคราะห์ และจัดทำรายงาน เป็นกลุ่ม ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือคนควาหาขอมูล
                ๒)  จัดทำสื่อประกอบการรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
                ๓)  มอบหมายกรณีศึกษาให้วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิเคราะห์จากกรณีศึกษาในห้องเรียน
๑)  ประเมินผลจากการรายงาน โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
                ๒)  ประเมินผลจากกรณีศึกษาที่มอบหมาย
                ๓)  นักศึกษาในกลุ่มประเมินผลการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสมกับสถานการณและ
                                         วัฒนธรรมสากล
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ๑,๒,๓,๕ การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ๙ ๑๘ ๓๐% ๓๐%
2 ๓,๔,๕ รายงานเดี๋ยวและ กลุ่ม การวิเคราะห์ปัญหาหน้าชั้นเรียน และ ในขณะเรียน สุ่มเป็นรายสัปดาห์ ๒๐% ๑๐%
3 ๑,๒,๓,๔,๕ สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน การตอบคำถามในห้องเรียน ความมีวินัย ตรงเวลา ในการเข้าเรียน สุ่มเป็นรายสัปดาห์ ๑๐%
- การเงินธุรกิจ ผู้เรียบเรียง  ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสรฐสุดา  ปรีชานนท์
- การเงินธุรกิจ ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์กมลวรรณ พิมพ์แพทย์
- การจัดการการเงิน ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์เฉลิมขวัญ ครุฑบุญยงค์
- การเงินธุรกิจ ผู้แต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญพิมล ลีโนทัย
- เอกสารประกอบการสอน การเงินธุรกิจ  อาจารย์พวงทอง วังราษฏร์
-Digital Asset สินทรัพย์ดิจิทัล คริปโตเคอร์เรนซี ผู้แต่ง วริศ บูลกูล
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  การวิเคราะห์งบการเงิน
-  www.sec.or.th , www.settrade.com , www.fap.or.th
 
ใช้แบบประเมินผลอาจารย์ผู้สอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินการสอนอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา
ประเมินการสอนจากผลการสอบของนักศึกษา   จากงานกลุ่มการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา และตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ปรับปรุงการสอนโดยประเมินจากผลการสอบและการวิเคราะห์ปัญหา  การทำกรณีศึกษา
         ได้ทำการปรับปรุงจุดบกพร่องในการสอน ตามผลการประเมินของนักศึกษาในภาคเรียนที่ผ่านมา ๑/๖๕
        โดยเพิ่มวิธีการการถ่ายทอดความรู้ด้วยที่หลากหลายมากขึ้น เพิ่มกรณีศึกษา และบทความวิจัยทั้งในและ        ต่างประเทศ  เพื่อประกอบการอธิบายให้เข้าใจง่ายขึ้น และเพิ่มการนำเสนองานหน้าชั้นเรียน ฝึกทักษะ    การนำเสนอ กล้าแสดงออก และแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
ตรวจสอบความถูกต้องในการประเมินผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
                     ตรวจสอบความตรงประเด็นของข้อสอบกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ของสาขาวิชา
นำผลการประเมินข้อ ๑ ข้อ ๓ ข้อ ๔ มาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ด้านวิธีการสอนของ ผู้สอน ตารางเรียน การสอนเสริม การทบทวนเพื่อปรับปรุงเนื้อหา และการออกข้อสอบ รวมถึงการจัดกิจกรรมสร้างการเรียนรู้ด้วยตนเอง