กระบวนการออกแบบแนวคิดทางวิศวกรรมเครื่องกล

Mechanical Engineering Conceptual Design Process

1. เข้าใจนิยามศัพท์ที่ใช้ในการออกแบบเชิงแนวคิดทางวิศวกรรมเครื่องกล รู้หลักการและขั้นตอนในการออกแบบงานวิศวกรรมเพื่อให้ได้ผลงานวิศวกรรม 
2. รู้จักเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการออกแบบงานวิศวกรรมสามารถใช้เครื่องมือได้ถูกต้อง
3. สามารถวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการตลอดจนระบุขอบเขตในการออกแบบได้
4. เข้าใจกระบวนการออกแบบแและสามารถประยุกต์ใช้กระบวนการคิดในการออกแบบงานเชิงแนวคิดและสร้างงานต้นแบบได้
5. สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีกิจนิสัยในการค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม และมีความรับผิดชอบ
ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบแนวคิดงานวิศวกรรมเครื่องกลประกอบด้วยกระบวนการออกแบบในภาพรวม การรับรู้และประมาวลผลในภาพรวมของนักออกแบบ โมเดลเพื่อการวางแผนการออกแบบ การวิเคราะห์ปัญหาและระบุข้อกำหนดในการออกแบบ การสร้าง ประเมิน และเลือกแนวคิดเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์
1 ชั่วโมง
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพต่อกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร และสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพทางวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาและโครงงานเป็นฐาน และให้นักศึกษาฝึกเรียนรู้ตั้งแต่เริ่มกำหนดปัญหา ฝึกแก้ปัญหา   
1.2.2 แทรกการสอนเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพ จากกรณีศึกษาต่างๆ ให้นักศึกษาและเปิดโอกาสให้มีการวิพากษ์วิจารณ์ และนำมาเป็นกฎเกณฑ์ในการเรียนการสอนในหลักสูตร
1.2.3 ฝึกนักศึกษาให้จัดการกับข้อโต้แย้งต่างๆ โดยผ่านการเรียนการสอนที่ฝึกให้นักศึกษาหัดนำเสนอและจัดให้มีการเรียนการสอนแบบสองทาง ระหว่างอาจารย์และนักศึกษาหรือนักศึกษาด้วยกันเอง
1.3.1 ประเมินผลการเรียนทุกครั้งและเปิดเผยให้นักศึกษาได้ทราบผลการประเมิน
เพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
1.3.2 ประเมินผลจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรหรือการกระทำในขณะเรียน
1.3.3 ให้คะแนนจากการนำเสนอหรือให้คะแนนจากการสังเกตจากการลงปฏิบัติงานและแจ้งนักศึกษาทราบทุกครั้ง
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง  และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์และแก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.1.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการทางด้านวิศวกรรมเครื่่องกลรวมทั้งการนำไปประยุกต์ได้
2.2.1 ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆโดยการสอนให้เน้นการค้นคว้า และนำเสนอให้มากที่สุด
2.2.2 สอนให้นักศึกษาเรียนรู้หลักการมากกว่าวิธีการ และพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้กรณีศึกษาและเปิดให้นักศึกษาแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลายบนพื้นฐานของหลักการ
2.2.3 ฝึกให้นักศึกษาค้นคว้าและวิจัยจากบทความวิจัยหรือบทความวิชาการ เนื่องจากจะเป็นผลการวิจัยที่ใช้องค์ความรู้ที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
2.3.1 การให้คะแนนจากการสอบข้อเขียน การเขียนรายงาน การนำเสนอ
2.3.2 ข้อสอบควรมุ่งอธิบายหลักการ พิสูจน์ แก้ปัญหาด้วยหลักการ
2.3.3 เนื้อหาที่สอนต้องปรับปรุงต่อเนื่องหรือแทรกองค์ความรู้ใหม่อย่างต่อเนื่อง และฝึกให้นักศึกษาค้นคว้าอยู่ตลอดในรูปแบบการนำเสนอ การทำรายงาน ฝึกแก้ปัญหาโดยการทำโครงการหรือวิจัย
มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและเป็นระบบ
3.1.1 สามารถสืบค้นตีความและประเมินเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.1.2 สามารถรวบรวม ศีกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนทางวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและมีความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้ จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 ในการเรียนการสอนต้องฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาโดยเริ่มต้นจากปัญหาที่ง่ายและเพิ่มระดับความยากขึ้นเรื่อยๆทั้งนี้ต้องจัดให้เหมาะสมและสอดคล้องกับรายวิชา
3.2.2 จัดการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยการแก้ปัญหาจากสถานการณ์จำลองโดยใช้ผลการวิจัยหรือผลงานทางวิชาชีพแก้ปัญหาที่ซับซ้อนอย่างสร้างสรรค์
3.2.3 ให้มีการปฏิบัติจริงในสถานประกอบการเพื่อเป็นการเรียนวิธีการแก้ปัญหาในสถานการณ์จริงและหัดตั้งปัญหาจากสถานประกอบการ ศึกษาวิธีการแก้ปัญหาผ่านงานวิจัย
3.3.1 ประเมินจากการนำเสนอโครงงานหรือปัญหาที่ได้รับมอบหมายให้ไปค้นคว้าหรือทำวิจัยเพื่อแก้ปัญหา
3.3.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
3.3.3 ให้นักศึกษารายงานผลการปฏิบัติงานจริงด้วยรายงานที่ประกอบด้วยการตั้งปัญหาจากสถานประกอบการ การแก้ปัญหาด้วยการวิจัย และนำเสนอต่อคณาจารย์
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม   
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม ร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม                                     
4.1.4 รู้จักบทบบาทหน้าที่่ และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 จัดการสอนแบบให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งจะผสมผสานวิธีการสอนแบบใช้ปัญหาและโครงงานเป็นฐาน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาเรียนรู้แบบร่วมมือฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม
4.2.2 สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมการมีมนุษยสัมพันธ์การเข้าใจในวัฒนธรรมองค์กรเข้าไปในรายวิชาต่างๆและฝึกให้นักศึกษาได้วิพากษ์วิจารณ์ข้อโต้แย้งที่นำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
4.3.1 ในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.2 สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี                                        
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์                   5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยในการติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์ด้านวิศวกรรมเครื่องกลได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ                                        
5.1.4 มีทักษะในการสทื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียนและการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์                                              
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติในหลากหลายสถานการณ์
5.2.2 มอบหมายกรณีศึกษาที่ต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าหรือนำเสนอ
5.2.3 ฝึกให้นักศึกษาฝึกออกแบบ ฝึกทำการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย
5.2.4 ฝึกให้มีการสื่อสารหรือนำเสนอให้กับผู้รับข้อมูลหลายระดับ เช่น นักวิชาการ ผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ
5.3.1 การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติ
5.3.2 การอธิบายกรณีศึกษาต่างๆที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียนและนำเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุม หรือในสถานประกอบการจริง
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการออกแบบทางวิศวกรรมซึ่งต้องใช้ทักษะพื้นฐานทางฝีมือและประสบการณ์การทำงาน และฝึกทักษะการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ความรู้เชิงลึกหรือหลักการทางวิศวกรรม
6.2.1 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.2 ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความประณีต
6.3.1 พฤติกรรมการปฏิบัติงานและการจดบันทึก
6.3.2 ผลการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพต่อกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 4. สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร และสิ่งแวดล้อม 5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพทางวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านวิศวกรรม 3. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 5. สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์และแก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 6. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการทางด้านวิศวกรรมเครื่่องกลรวมทั้งการนำไปประยุกต์ได้ 1. มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและเป็นระบบ 2. สามารถสืบค้นตีความและประเมินเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถรวบรวม ศีกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 4. สามารถคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนทางวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. มีจินตนาการและมีความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้ จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 6. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 2. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม ร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ 3. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม 4. รู้จักบทบบาทหน้าที่่ และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรรับผิดชอบ 5. มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม 1. มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 2. มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยในการติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์ด้านวิศวกรรมเครื่องกลได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 4. มีทักษะในการสทื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียนและการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5. สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 1. มีทักษะในการบริหารจัดการด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีทักษะในการออกแบบวิศวกรรมซึ่งต้องใช้ทักษะพื้นฐานทางฝีมือและประสบการณ์การทำงาน และฝึกทักษะการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ความรู้เชิงลึกหรือหลักการทางวิศวกรรม
1 MENME124 กระบวนการออกแบบแนวคิดทางวิศวกรรมเครื่องกล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1, 2 การเข้าชั้นเรียน การส่งงาน การสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 20%
2 2, 3, 4, 5, 6 แบบฝึกหัด โครงงานการวิเคราะห์และการออกแบบแนวคิด การนำเสนอ ทุกสัปดาห์ การนำเสนอในช่วงหลังสอบกลางภาคและก่อนสอบปลายภาค 40%
3 2, 3 สอบกลางภาคและปลายภาค 8, 16 40%
1. Clive L. Dym, P. L., Engineering Design: A Project based Introduction, 4th Edition. John Wiley and Sons Limited, 2014.
2. Devid G. Ullman, The Mechanical Design Process, 4th Edition. New York. USA. McGraw Hill Higher education, 2010.
3. Ehud Kroll, Sridhar S. Condoor and David G. Jansson, Innovative Conceptual design Theory and Application of Parameter Analysis. United Kingdom. Cambridge University Press, 2004.
4. George E. Dieter, Linda C. Schmidt, Engineering Design, 4th Edition.McGraw Hill Higher education, 2009.
Ken Hurst, Engineering Design Principle. United Kingdom. Butterworth Heinemann, 1999. The Open University, Design. http://www.open.edu/openlearn/science-maths-technology/engineering-and-technology/design-and-innovation/design/design/content-section-0, accessed May 2013
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ