การบริหารการผลิต

Production Management

 ศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะความสาคัญของการผลิต และปัจจัยเกี่ยวกับการตัดสินใจ การผลิตซึ่งรวมถึงระบบการผลิต การจัดองค์เพื่อการผลิต การวางแผนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และกาลังการผลิต การวางแผนและกระบวนการผลิต การเลือกที่ตั้งโรงงาน การควบคุมคุณภาพและปริมาณ ระบบการบารุงรักษา ระบบการจัดซื้อและระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจอันถูกต้อง ซึ่งเป็นการปูรากฐานสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย เป็นประโยชน์แก่สังคมอุตสาหกรรมโดยรวม
ศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะความสาคัญของการผลิต และปัจจัยเกี่ยวกับการตัดสินใจ การผลิตซึ่งรวมถึงระบบการผลิต การจัดองค์เพื่อการผลิต การวางแผนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และกาลังการผลิต การวางแผนและกระบวนการผลิต การเลือกที่ตั้งโรงงาน การควบคุมคุณภาพและปริมาณ ระบบการบารุงรักษา ระบบการจัดซื้อและระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์  (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม   เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
 1.1.2. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม
 1.1.3. มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน    คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4. สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคลองค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึง   ปัจจุบัน
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา
1.3.1ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกาหนด     ระยะเวลาที่มอบหมาย
1.3.2. ประเมินจากการกระทาทุจริตในการสอบ
 
1) มีความเข้าใจหลักการของการจัดการและการบริหารสำหรับองค์กรทั่วๆไปที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ คือ กระบวนการจัดการ หน้าที่ของผู้บริหาร การพยากรณ์ยอดขาย การบริหารการตลาด การบริหารการเงิน
2) มีความเข้าใจหลักการการจัดระบบการผลิตขององค์กรอุตสาหกรรม ได้แก่หัวข้อ การจัดว่างสิงอำนวยความสะดวก การควบคุมคุณภาพ การวางแผนและการควบคุมบริหารพัสดุคงคลัง การจัดการโซ่อุปทาน
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem base learning และ Student Center เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
          1) การทดสอบย่อย
          2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
          3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
          2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
          3) สามารถคิด วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูล       ประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          4) มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการ       พัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
          5) สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
1) การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ และนำเสนอผลการศึกษา
          2) อภิปรายกลุ่ม
          3) วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในปัจจุบัน
          4) การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
สอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการบริหารอุตสาหกรรม
1) พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
          2) พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
          3 )พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม          กำหนดเวลา     
1) จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
          2) มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำ    ตัวอย่างการอ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
          3 )การนำเสนอรายงาน
1) ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
          2) รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
          3) รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1) ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
          2) พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และ
          นำเสนอในชั้นเรียน
          3) พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
          4) พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
          5) ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์ การสร้างห้อง      แสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น Weblock การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา        Chat Room
          6) ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำ     รายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
          2) นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1) การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
          2)การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยะธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขเละการใช้เทคโนโลยี 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG108 การบริหารการผลิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 มีความเข้าใจหลักการของการจัดการและการบริหารสำหรับองค์กรอุตสาหกรรม ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5,9,13,18 10 %,25 %,10 %,25 %
2 สามารถวิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน ทำงานกลุ่ม สรุปบทความ และ- การส่งงานตามที่มอบหมายได้ - วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน - การทำงานกลุ่มและผลงาน - การอ่านและสรุปบทความ - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 20 %
3 เข้าชั้นเรียนทันเวลาที่กำหนดและมีส่วนร่วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมอภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
- การบริหารและการจัดการองค์กรอุตสาหกรรม พจมาน เตียรัฒนรัฐติกาล
- Supply Chain Management การจัดการโซ่อุปทาน ดร.วิทยา สุหฤทดำรง
- โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ทฤฎี-งานวิจัย-กรณีศึกษา ผศ.ดร.ดวงพรรณ กริชชาญชัย ศฤงคานรินทร์
          - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
          - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
          - ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
          - ผลการสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
          - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
          - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ
          ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
          - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย
          ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม      
             ข้อ 4
          - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับ          
           ปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ