การออกแบบระบบเกษตร

Agricultural System Design

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบผังรวมของระบบเกษตร การออกแบบระบบการทาฟาร์มแบบผสมผสาน การออกแบบสภาพแวดล้อมสาหรับการผลิตทางการเกษตร การออกแบบโครงสร้างการออกแบบระบบระบายอากาศ การออกแบบระบบไฟฟ้า การออกแบบระบบชลประทานการออกแบบระบบสุขาภิบาล การออกแบบระบบสารสนเทศกฎเกณฑ์ของการออกแบบระบบเกษตรการประมาณราคา คอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบระบบฟาร์ม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจอันถูกต้อง ซึ่งเป็นการปูรากฐานสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย เป็นประโยชน์แก่สังคมอุตสาหกรรมโดยรวม
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบผังรวมของระบบเกษตร การออกแบบระบบการทาฟาร์มแบบผสมผสาน การออกแบบสภาพแวดล้อมสาหรับการผลิตทางการเกษตร การออกแบบโครงสร้างการออกแบบระบบระบายอากาศ การออกแบบระบบไฟฟ้า การออกแบบระบบชลประทานการออกแบบระบบสุขาภิบาล การออกแบบระบบสารสนเทศกฎเกณฑ์ของการออกแบบระบบเกษตรการประมาณราคา คอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบระบบฟาร์ม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ   ขององค์กรและสังคม 
1. นักศึกษาต้องเข้าชั้นเรียน และส่งงานที่มอบหมายตามกำหนดเวลา
2. ชี้แจงวิธีการปฏิบัติในการเรียนการสอน และกฎระเบียบข้อบังคับ
3. บรรยายเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเขียนแบบวิศวกรรมในงานอุตสาหกรรม
4. มอบหมายงานประจำวิชา ค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และรายงาน
1. พิจารณาพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งผลงานที่ได้รับมอบหมายตรงตามกำหนดเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. การร่วมกิจกรรมระหว่างเรียนการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผลถูกต้องเหมาะสมและสร้างสรรค์
มีความรู้เกี่ยวกับ การออกแบบผังรวมของระบบเกษตร การออกแบบระบบการทาฟาร์มแบบผสมผสาน การออกแบบสภาพแวดล้อมสาหรับการผลิตทางการเกษตร การออกแบบโครงสร้างการออกแบบระบบระบายอากาศ การออกแบบระบบไฟฟ้า การออกแบบระบบชลประทานการออกแบบระบบสุขาภิบาล การออกแบบระบบสารสนเทศกฎเกณฑ์ของการออกแบบระบบเกษตรการประมาณราคา คอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบระบบฟาร์ม
1. บรรยาย อภิบาย ยกตัวอย่าง    2. ฝึกปฏิบัติและสร้างผลงานในการเขียนแบบ โดยใช้เครื่องมือและแนวทางในวิชาชีพจริง   3. มีกิจกรรม ประเด็นปัญหาเพื่อการถาม –ตอบในระหว่างการเรียนการสอน   4. การนำเสนอผลงานและรายงาน การวิเคราะห์งานเขียนแบบที่นักศึกษาทำ
1. ทดสอบกลางภาคปฏิบัติ และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นวัดหลักการและทฤษฎี 2. ประเมินผลจากการปฏิบัติงาน 3. นำเสนอสรุปผลจากรายงานที่มอบหมาย และการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. การบรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/อภิปราย/ซักถาม 2. ปฏิบัติงานและวิเคราะห์งานที่ได้ปฏิบัติ 3. การทำงานกลุ่ม การนำส่งผลงาน 4. การสรุปบทเรียน
1. ตรวจผลการสอบกลางภาคปฏิบัติและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์งานเขียนแบบ 2. วัดผลจากการทดสอบและการส่งผลงาน 3. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการแก้ไขปัญหารวมถึงการทางานกลุ่ม
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล 2. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำการเขียน การใช้สัญลักษณ์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 2. นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงาน
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 2. มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล การนำส่งผลงาน
1. ตรวจผลการสอบกลางภาคปฏิบัติและสอบปลายภาค 2. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการแก้ไขปัญหารวมถึงการทางานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะ ทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคลและความ รับผิดชอบ ด้านทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้าน ทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG201 การออกแบบระบบเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2 2.2,5.4 2.2 6.1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 18 10% 25% 10% 25%
2 1.2,3.5,6.1 3.55.4 การส่งงานตามที่มอบหมาย ตรงต่อเวลา รายงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.2,4.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ