การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น

Auditing and Assurance

1. เพื่อศึกษาและฝึกปฎิบัติแนวคิดความส าคัญของการสอบบัญชีที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ ในยุคปัจจุบัน 2. เพื่อศึกษาวิวัฒนาการและวัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี ประเภทของการตรวจสอบ 3. เพื่อศึกษาแม่บทส าหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีในกรณีต่างๆ 4. เพื่อศึกษาความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการทุจริตและข้อผิดพลาด จรรยาบรรณ ของผู้สอบบัญชี 5. เพื่อศึกษาความเสี่ยงในการสอบบัญชีและการประเมินความเสี่ยงความมีสาระส าคัญ 6. การวางแผนและการก าหนดแนวการตรวจสอบหลักฐานการสอบบัญชี 7. เพื่อศึกษาการเลือกตัวอย่าง ในการสอบบัญชี การบันทึกผลการตรวจสอบและการจัดท าเอกสารการสอบบัญชีของ ผู้สอบบัญชี 8.เพื่อศึกษาวิธีการตรวจสอบสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของกิจการ รายได้และค่าใช้จ่าย การสรุปผลการตรวจสอบและการจัดท ารายงานการสอบบัญชี และรับรองภาษีอากร แนวทางการตรวจสอบโดยใช้คอมพิวเตอร์และการควบคุมคุณภาพงาน สอบบัญชี
2.1 เพื่อให้นักศึกษายกระดับความรู้ความเข้าใจในหลักการสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น 2.2 เสริมสร้างให้นักศึกษามีทักษะในการสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่นเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานได้จริง
ศึกษาและฝึกปฎิบัติแนวคิดความส าคัญของการสอบบัญชีที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ ในยุคปัจจุบัน วิวัฒนาการและวัตถุประสงค์ของการสอบบัญชี ประเภทของการตรวจสอบ  แม่บทส าหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชี ในกรณีต่างๆความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการทุจริตและข้อผิดพลาด จรรยาบรรณ ของผู้สอบบัญชี ความเสี่ยงในการสอบบัญชีและการประเมินความเสี่ยงความมีสาระส าคัญ การวางแผนและการก าหนดแนวการตรวจสอบหลักฐานการสอบบัญชี การเลือกตัวอย่าง ในการสอบบัญชี การบันทึกผลการตรวจสอบและการจัดท าเอกสารการสอบบัญชีของ ผู้สอบบัญชี วิธีการตรวจสอบสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของกิจการ รายได้และ ค่าใช้จ่าย การสรุปผลการตรวจสอบและการจัดท ารายงานการสอบบัญชี และรับรอง ภาษีอากร แนวทางการตรวจสอบโดยใช้คอมพิวเตอร์และการควบคุมคุณภาพงาน สอบบัญชี
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1. มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ 2. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม 3. สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม 4. มีจิตส านึก และพฤติกรรมที่ค านึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาวิชาเรียน 2. ให้ความส าคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 3. เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการท าประโยชน์ให้แก่ชุมชน 4. การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
1. ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การท างานทันตามก าหนด และความพร้อมเพรียงของการเข้าร่วมกิจกรรม 2. ประเมินการกระท าทุจริตในการสอบ 3. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
1. มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี 2. มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการ บัญชี โดยสามารถบูรณาการและน ามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 3. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้                จากประสบการณ์ 4. สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
1. ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยายและอภิปราย  การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใช้สถานการณ์จ าลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา 2. การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน 3. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดท ารายงานหรือโครงการ
4. การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง จากการฝึกงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรมและการศึกษาดูงานในองค์การธุรกิจหรืออุตสาหกรรม
1. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงาน                 การค้นคว้า และการน าเสนอ 2. การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ 3. การประเมินผลการเรียนรู้โดยผู้ประกอบการจากสถานการณ์จริง หรือการฝึกงาน                      ในองค์กรธุรกิจ 4. การประเมินความรู้ของบัณฑิตโดยการส ารวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต
1. สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อน ามาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง 2. สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยค านึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 3. สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
1. ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือ สถานการณ์จ าลอง 2. จัดให้มีรายวิชาที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาวน์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา 3. สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
1. ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือสถานการณ์จ าลองที่ได้รับมอบหมาย 2. ประเมินจากการสอบที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิชา 3. ประเมินจากรายงานผลการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และการน าเสนอหน้าชั้นเรียน รวมทั้งผลการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
1. สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถท างานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี 3. มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้น า และในบทบาทของ ผู้ร่วมงาน 4. มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
1. มอบหมายการท างานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้น า การเป็นสมาชิกกลุ่ม และผลัดกันเป็นผู้รายงาน 2. มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น 3. ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่าง ๆ
1. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน 2. ประเมินการเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม  ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน 3. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
1. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณเชิงตัวเลข 2. มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศ 3. ให้อภิปรายและน าเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และน าเสนอในรูปแบบรายงาน มอบหมายกรณีศึกษาให้น ามาวิเคราะห์และน าเสนอผลการ วิเคราะห์ในห้องเรียนในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
1. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือค านวณเชิงตัวเลข 2. มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศ 3. ให้อภิปรายและนำเสนอผลงานที่ได้จากการสืบค้นหน้าชั้นเรียน และนำเสนอในรูปแบบรายงาน มอบหมายกรณีศึกษาให้นำมาวิเคราะห์และนำเสนอผลการ วิเคราะห์ในห้องเรียนในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์
1. ประเมินจากผลงาน กิจกรรมที่เกี่ยวข้องเชิงสถิติและคณิตศาสตร์ 2. ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและน าเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 3. ประเมินจากการสอบข้อเขียน  4. ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการน าเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
1. สามารถปฏิบัติงานโดยน าองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 2. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการด าเนินงานเพื่อสนับสนุนการด าเนินงานของธุรกิจ น ามาแก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 3. สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการท างาน สัมคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการด าเนินชีวิต 4. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล 5. สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทาง ความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1. มอบหมายงานศึกษาองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 2. มอบหมายงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการด าเนินงานเพื่อสนับสนุนการด าเนินงานของธุรกิจ น ามาแก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย  ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 3. อธิบายการปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการท างาน สัมคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการด าเนินชีวิต 4. มอบหมายงานโดยใช้ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล 5. มอบหมายงานโดยยึดถือแนวทาง ความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1. ประเมินจากผลงาน กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง 2. ประเมินจากผลงานการสืบค้นข้อมูลที่มอบหมายและน าเสนอผลงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 3. ประเมินจากกรณีศึกษา 4. ประเมินทักษะการใช้ภาษาพูดในการน าเสนอรายงานและการใช้ภาษาเขียนจากรายงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คณุธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 BACAC135 การสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คณุธรรม จริยธรรม สังเกตการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 1-17 5%
2 ความรู้ สอบภาคทฤษฎี กลางภาคและปลายภาค 9 17 60%
3 ทักษะทางปัญญา สอบปฏิบัติจากกรณีศึกษา 6 16 20%
4 ทักษะความสัมพันร์ระหวา่งบุคคลและความรับผิดชอบ สังเกต 1-17 10%
5 ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สังเกต 1-17 5%
- นิพนธ์ เห็นโชคชัยชนะและศิลปชัย ศรีจั่นเพชร. การสอบบัญชี. กรุงเทพฯ : 2559.
-  มาตรฐานการสอบบัญชี จำนวน  36 ฉบับ  -  มาตรฐานงานสอบทาน จำนวน 2 ฉบับ -  มาตรฐานงานที่ให้ความเชื่อมั่น จำนวน 4 ฉบับ -  มาตรฐานงานบริการเกี่ยวเนื่อง จำนวน 2 ฉบับ -  แม่บทสำหรับงานที่ให้ความเชื่อมั่น จำนวน 1 ฉบับ -  คำอธิบายวิธีปฏิบัติงานตรวจสอบ จำนวน 1 ฉบับ -  จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพ ฉบับที่ 19 สำหรับผู้สอบบัญชี
-  Power Point Slide ประจำบทเรียน
-  www.Fab.or.th  เว็บไซด์สภาวิชาชีพบัญชี
 -  www.set.or.th เว็บไซด์ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
-  www.rd.go.th กรมสรรพากร
-  www.dpd.go.th กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
นักศึกษาประเมินผลการเรียนของตนเอง
นักศึกษาประเมินการสอนของอาจารย์
นำผลการการประเมินตนเองของนักศึกษาและอาจารย์มาพัฒนารายวิชาการสอบบัญชีและการให้ความเชื่อมั่น
ประเมินโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจากการสัมภาษณ์นักศึกษา
นำผลการประเมินมาวางแผนปรับปรุงในหลักสูตร