ทฤษฎีโครงสร้าง

Theory of Structures

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการคำนวณโครงสร้าง  สามารถคำนวณแรงปฏิกิริยา แรงเฉือน และโมเมนต์ดัดในคานและโครงข้อแข็งได้  สามารถวิเคราะห์แรงที่เกิดขึ้นในองค์อาคารต่างๆของโครงข้อหมุน  สามารถคำนวณและเขียนแผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัดของโครงสร้างเนื่องจากแรงสถิตย์และแรงเคลื่อนที่ได้  เห็นคุณค่าของวิชาทฤษฎีโครงสร้างเพื่อประยุกต์กับการทำงานจริงได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้   ความเข้าใจ        ในการวิเคราะห์โครงสร้าง  เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์โครงสร้างแบบดิเทอร์มิเนทเพื่อหาแรงปฏิกิริยา  แรงเฉือน  โมเมนต์ดัด
ในคานและโครงข้อแข็ง  วิเคราะห์แรงภายในโครงข้อหมุนโดยวิธีคำนวณและวิธีกราฟ
อินฟูเอ็นไลน์ในคานและโครงข้อหมุน  การขจัดเชิงมุมและการโก่งของโครงสร้าง
โดยวิธีคานเสมือน วิธีงานเสมือน วิธีพลังงานความเครียด และวิธีแผนภูมิวิลเลียต-มอร์  
การวิเคราะห์โครงสร้างแบบอินดิเทอร์มิเนทโดยวิธีสมมติ  การเปลี่ยนรูปของโครงสร้าง
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในห้องเรียน
 -   นักศึกษาสอบถามได้ในห้องเรียน  นอกเวลาเรียนที่ห้องพักอาจารย์ 
วินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
ลงชื่อเข้าเรียนทุกครั้ง แจ้งกติกา ข้อตกลง มารยาทในการเรียนการสอนในชั่วโมงแรก มอบหมายเอกสารอ่านประกอบ ภาพ วีดีทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนเพื่อเพิ่มเติมประสบการณ์ มอบหมายแบบฝึกหัด รายงาน  กำหนดวันส่ง การนำเสนอผลงาน ติดตามผล

 
1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
สามารถวิเคราะห์โครงสร้างแบบดิเทอร์มิเนทเพื่อหาแรงปฏิกิริยา  แรงเฉือน  โมเมนต์ดัด
ในคานและโครงข้อแข็ง  คำนวณวิเคราะห์แรงภายในโครงข้อหมุนโดยวิธีคำนวณและวิธีกราฟ  อินฟูเอ็นไลน์ในคานและโครงข้อหมุน  การขจัดเชิงมุมและการโก่งของโครงสร้างโดยวิธีคานเสมือน วิธีงานเสมือน วิธีพลังงานความเครียด และวิธีแผนภูมิวิลเลียต-มอร์   การวิเคราะห์โครงสร้าง แบบอินดิเทอร์มิเนทโดยวิธีสมมติการเปลี่ยนรูปของโครงสร้าง
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีนำไปแก้ปัญหาโจทย์
2  ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการวิเคราะห์ออกแบบโครงสร้างอาคารผิดพลาด
1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
2   อภิปรายกลุ่ม
3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  การวิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้วิชาทฤษฎีโครงสร้างที่เหมาะสม
4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวัดผลตามจุดประสงค์การสอน
2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น อ่านบทความงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  การใช้ทฤษฎีที่เรียนมาแก้ปัญหาโจทย์ที่นักศึกษาสนใจ ต้องการทราบคำตอบ และมีวิธีตรวจสอบความถูกต้อง
3   การนำเสนอรายงาน
1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1   ทักษะการค้นคว้า หาข้อมูล  คิดคำนวณ เชิงตัวเลข
2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำแบบฝึกหัด และตรวจสอบความถูกต้อง
2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หมวด 4 (1.3,2.3,3.3,4.3) สอบกลางภาค บทที่ 1-4 สอบปลายภาค บทที่ 5-7 และข้อสอบทบทวนปรนัย 4 ตัวเลือก 9 17 40% 40%
2 หมวด 4 (1.3,2.3,3.3,4.3,5.3) งานที่มอบหมายครั้งที่ 1 ให้ค้นคว้าหาโครงสร้างที่นศ.ประทับใจ เขียนแบบจำลอง –งานที่มอบหมายครั้งที่ 2 ให้สร้างโจทย์เขียนรูปหาแรงปฏิกริยาด้วยโปรแกรม AutoCad –งานที่มอบหมายครั้งที่ 3 ให้สร้างโจทย์เขียนรูปหาแรงปฏิกิริยา แรงเฉือน และโมเมนต์ดัด ด้วยโปรแกรม AutoCad ตรวจคำตอบด้วยการคำนวณ –งานที่มอบหมายครั้งที่ 4 ให้สร้างโจทย์เขียนรูปหาแรงภายในโครงข้อหมุน ด้วยโปรแกรม AutoCad ตรวจคำตอบด้วยการคำนวณ –งานที่มอบหมายครั้งที่ 5 ทำรายงานการหาระยะการโก่งตัวโครงข้อหมุนโดยวิธีวิลเลียต-มอร์ ให้สร้างโจทย์เขียนรูปหาแรงภายในโครงข้อหมุน ด้วยโปรแกรม AutoCad ตรวจคำตอบด้วยการคำนวณ 1 3 4 7 12 2% 2% 2% 2% 2%
3 หมวด 4 (1.3) หมวด 4 (2.3,3.3,4.3,5.3) การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน อภิปราย ตลอดภาคการศึกษา 5% 5%
1.  Anderson, P., Nordby, G.M. Introduction to Structural Mechanics. New York :      The Ronald Press Company, 1960. 2.  Arbaby, F. Structural Analysis and Behavior. Singapore : Mc Graw -  Hill, 1991. 3.  Hibbeler, R.C. Structural Analysis. 5th ed. New Jersey : Prentice – Hall, 2002. 4.  Hsieh, Y.Y. Elementary of Structures. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice - Hall, 1970. 5.  Hsieh, Y.Y., Mau, S.T. Elementary Theory of Structures. 4th ed. New Jersey : Prentice   – Hall, 1995. 6.  Mc Cormac, J.C., Nelson, Jr.J.K. Structural Analysis : A Classical and Matrix Apporach.       2nd ed. Addison – Wesley Education Publishers Inc., 1996. 7.  Norris, C.H., Wilbur, J.H. and Utku, s. Elementary Structural Analysis. 3rd ed., Singapore :          Mc Graw – Hill, 1977. 8.  Tartaglione, L.C. Structural Analysis. Singapore : Mc Graw – Hill, 1991. 9.  Wang, C.K. Intermediate Structural Analysis. Singapore : Mc Graw – Hill, 1983. 10. West, H.H. Analysis of Structures an Integration of Classical and Modern Methods.       2nd ed. Singapore : John Wiley 4 sons, 1980. 11. ข้อบัญญัติของกรุงเทพมหานคร. การควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ 2522.  หมวด 6. 12. ชาญชัย  จารุจินดา. ทฤษฎีโครงสร้าง. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร : 23 บุ๊คเซ็นเตอร์, 2535. 13. ตระกูล  อร่ามรักษ์. การวิเคราะห์โครงสร้าง 2. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์       มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ การพิมพ์, 2538. 14. นรินทร์  เนาวประทีป. การวิเคราะห์โครงสร้าง 1.  พระนคร กรุงเทพมหานคร : Physic Center,        2534. 15. บัญชา  สุปรินายก. การวิเคราะห์โครงสร้าง. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร สมาคมส่งเสริม       เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) : บริษัท ประชาชน จำกัด, 2538. 16. ปณิธาน  ลักคุณะประสิทธิ์. การวิเคราะห์โครงสร้าง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร วิศวกรรม       สถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอนและผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ