มาตรฐานและข้อกำหนดในงานเชื่อม

Welding Standards and Specifications

ศึกษาระบบการควบคุมคุณภาพ ข้อกําหนดและเงื่อนไขสําหรับการออกแบบรอยต่องาน เชื่อมตามมาตรฐาน การเลือกและกําหนดเกี่ยวกับวัสดุชิ้นงาน กรรมวิธีการเชื่อม และ วัสดุเชื่อม การกําหนดขั้นตอนและรูปแบบการปฏิบัติงานเชื่อม ข้อกําหนดและ มาตรฐานเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพงานเชื่อม การกําหนดแผนงาน และขั้นตอนการ สอบงานเชื่อม การประเมินผลงานตามหลักสถิติ การควบคุม การรับรองคุณสมบัติและ คุณวุฒิของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานเชื่อมตามหลักสากล การควบคุมความปลอดภัย ของบุคลากรในสายงานการเชื่อมและเก็บรักษาข้อมูล
-
ศึกษาระบบการควบคุมคุณภาพ ข้อกําหนดและเงื่อนไขสําหรับการออกแบบรอยต่องาน เชื่อมตามมาตรฐาน การเลือกและกําหนดเกี่ยวกับวัสดุชิ้นงาน กรรมวิธีการเชื่อม และ วัสดุเชื่อม การกําหนดขั้นตอนและรูปแบบการปฏิบัติงานเชื่อม ข้อกําหนดและ มาตรฐานเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพงานเชื่อม การกําหนดแผนงาน และขั้นตอนการ สอบงานเชื่อม การประเมินผลงานตามหลักสถิติ การควบคุม การรับรองคุณสมบัติและ คุณวุฒิของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานเชื่อมตามหลักสากล การควบคุมความปลอดภัย ของบุคลากรในสายงานการเชื่อมและเก็บรักษาข้อมูล
1
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม 
กําหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการ เข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความ รับผิดชอบโดยในการทํางานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นํากลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
(1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกําหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
(2) ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม หลักสูตร 
(3) ปริมาณการกระทําทุจริตในการสอบ
(4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 
(2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สําคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติใน เนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
(3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของ รายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ 
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทํา 
(3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
(2) การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน 
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการ นําเสนอรายงานในชั้นเรียน
(4) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้งงาน บุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
(1) สามารถทํางานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 
(1) ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นําและผู้ตามที่ดี
(2) ติดตามการทํางานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึก พฤติกรรมเป็นรายบุคคล 
(5) สามารถใช้เครื่องมือการคํานวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพใน สาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 
(2) ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนําเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ ความสําคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 
(1) ประเมินจากเทคนิคการนําเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์ 
(2) มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือ กันเป็นอย่างดี
(3) สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมอุตสาหการกับหน่วยงานภายในและภายนอก 
(1) มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.7, สอบกลางภาค 8 45
2 3.2 สอบปลายภาค 17 45
3 1.1 – 1.7 การเข้าชั้นเรียน 1-17 10
มงคล เพิ่มฉลาด. วิศวกรรมการเชื่อม : Welding Engineering. สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์.  กรุงเทพฯ. 2556
มานะศิษฏ์ พิมพ์สาร. คู่มือการเชื่อม มิก-แม็ก (GMAW-Welding). สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น, บมจ. 2557
ชูชาติ ด้วงสงค์. การทดสอบงานเชื่อมแบบทำลายสภาพ (Destructive Testing of Welds). สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. 2550
สมบูรณ์ เต็งหงษ์เจริญ และคณะ. การตรวจสอบงานเชื่อมโลหะ. สำนักพิมพ์ จุฬา. 2532
 
การเลือกใช้ลวดเชื่อมตามมาตรฐาน AWS. สืบค้นจากhttp://www.tws.or.th/index.php?ContentID=ContentID-13021413120037465
สถาบันการเชื่อมแห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก https://wit.kmutnb.ac.th/
การเชื่อมเหล็กแบบต่างๆ เป็นกระบวนการในการเชื่อมติดเนื้อวัสดุเข้าด้วยกัน. สืบค้นจากhttp://www.thanasarn.co.th/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%86/