ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข
Numerical Methods
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเกิดทักษะกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
1. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจพื้นฐานของระเบียบวิธีเชิงตัวเลข และเกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาที่เรียนและวิธีการคำนวณในระดับสูงขึ้นไปได้
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาที่เรียนและวิธีการคำนวณในระดับสูงขึ้นไปได้
ศึกษาเกี่ยวกับการวิเคราะห์ค่าผิดพลาดการประมาณค่าในช่วงและการประมาณค่าพหุนาม การหาค่าอนุพันธ์และค่าปริพันธ์เชิงตัวเลข การหาผลเฉลยเชิงตัวเลขของระบบสมการเชิงเส้นโดยวิธีตรงและโดยวิธีทำซ้ำ การคำนวณเชิงตัวเลขของค่าเฉพาะ การคำนวณเชิงตัวเลขด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยการติดประกาศไว้ที่บอร์ดหน้าห้องพักอาจารย์ และสอนเสริม
1. มีวินัย
2 มีความขยันและอดทน
3 มีความเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมโดยเน้นในเรื่องความเสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยัน อดทน มีความเป็นไทย มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษา โดยวิธีสังเกต หรือจากผู้เกี่ยวข้อง การเข้าชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน งานที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้ตามหลักวิชาการ และทฤษฎีที่สำคัญในรายวิชา
2.1.2 มีการแสวงหาความรู้และใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
2.1.3 วิเคราะห์และเชื่อมโยงความรู้ในศาสตร์หลักไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
2.1.4 สามารถพิสูจน์ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์และสถิติได้
2.1.5 สามารถบูรณาการความรู้และทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อไปประยุกต์ใช้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้
2.1.2 มีการแสวงหาความรู้และใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
2.1.3 วิเคราะห์และเชื่อมโยงความรู้ในศาสตร์หลักไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
2.1.4 สามารถพิสูจน์ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์และสถิติได้
2.1.5 สามารถบูรณาการความรู้และทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อไปประยุกต์ใช้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้
ใช้การสอนหลายรูปแบบ ได้แก่ การบรรยาย ถาม-ตอบระหว่างเรียน การให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ประเมินผลการเรียนรู้จากการเรียนรายวิชา โดยการสอบข้อเขียน สอบภาคปฏิบัติ การทำ
แบบฝึกหัดที่ได้รับมอบหมาย ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต
3.1.1 มีทักษะการคิด
3.1.2 มีทักษะในการแก้ปัญหา
3.1.3 มีทักษะในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
3.1.2 มีทักษะในการแก้ปัญหา
3.1.3 มีทักษะในการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง กำหนดปัญหาในเชิงสร้างสรรค์ให้นักศึกษาได้ฝึกประยุกต์ใช้ทฤษฎีต่าง ๆ
ประเมินโดยออกข้อสอบที่นักศึกษาต้องประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหา คิดวิเคราะห์สังเคราะห์
4.1.1 มีภาวะผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
4.1.5 ปรับตนเองร่วมกับผู้อื่นได้
4.1.3 รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
4.1.5 ปรับตนเองร่วมกับผู้อื่นได้
กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่มหรือทำงานที่ต้องประสานกับบุคคลอื่นทั้งในสาขาเดียวกันและต่างสาขา ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
ประเมินผลการเรียนรู้จากกระบวนการกลุ่ม ประเมินจากความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1 มีทักษะในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 มีทักษะในการคิดคำนวณ
5.1.4 มีความเข้าใจในประเด็นปัญหา แปลความหมาย และเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 มีทักษะในการคิดคำนวณ
5.1.4 มีความเข้าใจในประเด็นปัญหา แปลความหมาย และเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้นักศึกษาวิเคราะห์โจทย์ปัญหาหรือสถานการณ์จำลอง วิธีการแก้ปัญหา
ดำเนินการแก้ปัญหา และนำเสนอผลการวิเคราะห์ผ่านระบบสารสนเทศ
ดำเนินการแก้ปัญหา และนำเสนอผลการวิเคราะห์ผ่านระบบสารสนเทศ
ประเมินผลการเรียนรู้จากการแก้ไขปัญหาโดยใช้การวิเคราะห์เชิงตัวเลข และนำเสนอข้อมูล
-
-
-
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.2, 1.1.3, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.3, 4.1.5, 5.1.1, 5.1.4 | การแสดงพฤติกรรมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม การนำเสนองาน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
2 | 2.1.1 – 2.1.5, 3.1.1-3.1.3, 5.1.2 | - การตอบคำถาม การแก้ปัญหา การทำแบบฝึกหัด - การทดสอบย่อย - การทดสอบกลางภาค - การทดสอบปลายภาค | - ตลอดภาคการศึกษา - สัปดาห์ที่ 5 - สัปดาห์ที่ 12 | 10% 20% 30% 30% |
3 |
กัณวริช พลูปราชญ์. การวิเคราห์เชิงตัวเลขสำหรับวิศวกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : ท้อป, 2555.
กาญจนา คำนึงกิจ. การวิเคราะห์เชิงตัวเลข. กรุงเทพฯ : หจก. มีนเซอร์วิส ซัพลาย, 2552.
ธนาวุฒิ ประกอบผล. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข. กรุงเทพฯ : ท้อป, 2555.
นิพนธ์ วรรณโสภาคย์ และปราโมทย์ เดชะอำไพ. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขในงานวิศวกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
พรทรัพย์ พรสวัสดิ์. การวิเคราะห์เชิงตัวเลข. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2556.
กาญจนา คำนึงกิจ. การวิเคราะห์เชิงตัวเลข. กรุงเทพฯ : หจก. มีนเซอร์วิส ซัพลาย, 2552.
ธนาวุฒิ ประกอบผล. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข. กรุงเทพฯ : ท้อป, 2555.
นิพนธ์ วรรณโสภาคย์ และปราโมทย์ เดชะอำไพ. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขในงานวิศวกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
พรทรัพย์ พรสวัสดิ์. การวิเคราะห์เชิงตัวเลข. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2556.
กัณวริช พลูปราชญ์. การวิเคราห์เชิงตัวเลขสำหรับวิศวกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ : ท้อป, 2555.
กาญจนา คำนึงกิจ. การวิเคราะห์เชิงตัวเลข. กรุงเทพฯ : หจก. มีนเซอร์วิส ซัพลาย, 2552.
ธนาวุฒิ ประกอบผล. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข. กรุงเทพฯ : ท้อป, 2555.
นิพนธ์ วรรณโสภาคย์ และปราโมทย์ เดชะอำไพ. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขในงานวิศวกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
พรทรัพย์ พรสวัสดิ์. การวิเคราะห์เชิงตัวเลข. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2556.
กาญจนา คำนึงกิจ. การวิเคราะห์เชิงตัวเลข. กรุงเทพฯ : หจก. มีนเซอร์วิส ซัพลาย, 2552.
ธนาวุฒิ ประกอบผล. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข. กรุงเทพฯ : ท้อป, 2555.
นิพนธ์ วรรณโสภาคย์ และปราโมทย์ เดชะอำไพ. ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขในงานวิศวกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
พรทรัพย์ พรสวัสดิ์. การวิเคราะห์เชิงตัวเลข. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2556.
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ผลการสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- บันทึกกิจกรรมการสอนรายสัปดาห์
- บันทึกกิจกรรมการสอนรายสัปดาห์
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4