การผลิตพืชและสัตว์สำหรับวิศวกร

Crop and Animal Production for Engineers

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา การบริหารผลิตมีความสำคัญอย่างมากต่อองค์การ ภาครัฐและเอกชน เป็นวิธีการที่ช่วยสนับสนุนให้การบริหารงานบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ความสำเร็จ ช่วยให้องค์การทั้งภาครัฐและเอกชนมีความเจริญก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่พึงประสงค์ได้รวมถึงภาคการผลิตและภาคบริการด้วย ด้วยเหตุนี้จึงมีจุดมุ่งหมายของรายวิชาเพื่อให้ผู้เรียน มีความเข้าใจ ในเรื่องรู้การวางแผน การดำเนินงาน และการควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ การออกแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการดำเนินงาน เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานและการผลิต การจัดการคุณภาพ การบริหารโครงการ การพยากรณ์ การจัดการสินค้าคงคลัง การวางแผนกำลังการผลิตและความต้องการทรัพยากรโลจิสติกส์ การบริหารบุคคลรวมทั้งการจัดการห่วงโซ่อุปทานตั้งแต่อุตสาหกรรมต้นน้ำจนถึงอุตสาหกรรมปลายน้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน 
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา 2.1 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะและความสำคัญของการบริหารการผลิต ปัจจัยที่เกี่ยวกับการควบคุมการผลิตและบริการ 2.2 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักเกณฑ์การจัดการคุณภาพ การบริหารโครงการ การวางแผนกำลังการผลิต และความต้อการทรัพยากร 2.3 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการบริหารบุคคล โลจิสติกส์ รวมทั้งการจัดการโซ่อุปทาน 2.4 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสรุปประเด็นสำคัญของการในการนำความรู้จากการบริหารการผลิตและสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจำแนกชนิดและพันธ์พืช ระบบการปลูกพืช ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตพืช การขยายพันธ์พืช รูปแบบการปลูกพืช การเก็บเกี่ยว วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและการตลาด ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ อาหารสัตว์ โรคและการสุขาภิบาล มาตรฐานเกี่ยวข้องกับการเกษตร และการศึกษาดูงานนอกสถานที่
6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 
1.มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3.มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 2. เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 3. สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคมสอนหลักพุทธธรรม คุณงามความดี ที่มีต่อตนเองและสังคม
1. การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา 2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน 3. ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ 2. นำนักศึกษาออกไปทำกิจกรรมการบริการวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยี ให้ชุมชนและยังได้นำองค์ความรู้จากภายนอกมาถ่ายทอดให้นักศึกษาในชั้นเรียน ด้วยวิธีการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ 2. ประเมินด้านความรู้จากกิจกรรม.........ของผู้เรียน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)และนำงานวิจัยมาเสริมทักษะแก่ผู้เรียน 2. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
1. ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา 2. ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย/การทดสอบย่อย
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1.ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสรกิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม 2. กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน 3. - ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1. ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม 2. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา 3. ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 2. ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 3. มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
1. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ 2. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ 3. ประเมินจากผลงานและการนำเสนอรายงานด้วยสื่อภาษาต่างประเทศ
1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1.ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ปฏิบัติงานกลุ่มตามที่ไ้รับมอบหมายจากการปฏิบัติงานจากของจริง
1. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาจากการปฏิบัติงานร่วมกัน 2. ทดสอบการปฏิบัติงานรายบุคคล หรือ รายกลุ่ม 3. ประเมินจากผลงานและที่ได้รับมอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.1.3, 4.2.1, 4.3.1 4.5.3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 8 11 16 10% 20% 10% 20%
2 4.2.1, 4.3.2, 4.5.1, 4.5.2, 4.5.3, รายงานและ/หรือแบบฝึกหัด ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 4.1.1, 4.1.2, 4.2.2, 4.3.1, 4.3.2, 4.4.1, 4.4.2, 4.4.3, 4.5.3 การเข้าชั้นเรียนทักษะพิสัย การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ที่มา : http://www.greennet.or.th/article/1125 ข้อกำหนดการตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์ ที่มา : http://actorganic- ระบบการผลิตที่ถูกต้องในฟาร์ม GAP (Good Agricultural Practice) ที่มา : http://www.mamafreshly.com/%E0% มาตรฐานสินค้าเกษตร ที่มา : http://www.acfs.go.th/agri_standards.php
เอกสารประกอบการสอน การผลิตพืชและสัตว์สำหรับวิศวกร
เอกสารประกอบการสอน หลักการเกษตร เอกสารประกอบการสอนการผลิตพืช เอกสารประกอบการสอนการผลิตสัตว์ เอกสารประกอบการสอนวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาเชิงวิชาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา คือ การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยการ ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4