ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์

Human Computer Interaction

1.1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจ เกี่ยวกับข้อจำกัดของมนุษย์ ในการมีปฏิสัมพันธ์เชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์ และโปรแกรม
1.2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจ และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบส่วนรับคำสั่ง การจัดลำดับเนื้อหาของส่วนแสดงผล และตอบสนอง
1.3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจฝึกปฏิบัติการออกแบบโปรแกรม ตามความต้องการของผู้ใช้ได้
1.4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจฝึกปฏิบัติ การตรวจสอบ และทวนสอบ โปรแกรมอย่างถูกต้อง
2.1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจ และปรับปรุงส่วนเพิ่มเติม หรือการ Interface แบบใหม่ บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ Smart Phone
2.2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ ความแตกต่างของ View แบบต่าง ๆ เพื่อใช้สำหรับการออกแบบได้อย่างเหมาะสม
2.3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสังเคราะห์ การออกแบบตามความต้องการของระบบ ได้อย่างถูกต้องตามแนวทางการพัฒนาโปรแกรม หรือมาตรฐานการพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ได้
    ศึกษาหลักการเบื้องต้นของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย ปัจจัยด้านมนุษย์ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพ กระบวนการรับรู้ ผลศึกษาความใช้งานได้ สภาวะแวดล้อมของการใช้งาน แนวทางการออกแบบระบบที่มีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง แนวทางการประเมินผล การพัฒนาวิธีติดต่อผู้ใช้ที่มีประสิทธิผล มาตรฐานด้านความใช้งานได้ เทคโนโลยีด้านอุปกรณ์และระบบที่มีส่วนสัมพันธ์กับการใช้งานของมนุษย์ ส่วนสนับสนุนผู้บกพร่องในการรับรู้ ฝึกปฏิบัติการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ของอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ Study of human and computer interaction including  human factor, efficiency analysis, cognitive process, usability design, working environment, human-centered design, evaluation guideline, effective UI (User Interface) design, usability standard, hardware technology and human interaction systems which support the disability. Practice in hardware and software interaction design.
1
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมความเสียสละ และความซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) 
การสังเกต , สถานการณ์จำลอง
2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา
2.2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ตรงตามข้อกำหนด
2.2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
2.2.5 รู้ เข้าใจ และสนใจ พัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
2.2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- การสอนแบบบรรยาย - การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ  - การสอนแบบปฏิบัติ
- การทดสอบย่อย - การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน - ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ - ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ - ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน - ประเมินจากรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพ
3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
3.1.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.4 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
 
- การสอนแบบบรรยาย - การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ  - การสอนแบบปฏิบัติ  
- กรณีศึกษาทางการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ - การอภิปรายกลุ่ม - ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.1.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและมีความรับผิดชอบต่องานในกลุ่ม
4.1.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่ม แสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.1.6 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่าง ๆ นี้ สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
 
- การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ  - การสอนแบบปฏิบัติ
- การสังเกต , สถานการณ์จำลอง
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
5.1.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือทางสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
 
- การสอนแบบบรรยาย - การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ  - การสอนแบบปฏิบัติ  
- การสังเกต , สถานการณ์จำลอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง ปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCT202 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.1.4 , 4.1.5 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 1.1.5 , 1.1.6 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 20%
3 2.1.1-2.1.8 การสอบกลางภาค 8 20%
4 3.1.1-3.1.4 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 30%
5 5.1.1 , 5.1.4 การสอบปลายภาค 16 20%
Alan Dix, Janet Finlay, Gregory D. Abowd, Russel Beale. “Human-Computer Interaction” (3rd ed.). Peason Education Limited, England.
Jenifer Tidwell. “Designing Interfaces” (2nd ed.). O’Reilly Media, Inc., Canada.
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ