วิศวกรรมงานหล่อโลหะ

Foundry Engineering

1) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกรรมวิธีการหล่อโลหะต่าง ๆ
          2) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแบบหล่อทราย การทดสอบคุณสมบัติของทราย
          3) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระสวน
          4) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำแบบหล่อและไส้แบบทรายชนิดต่าง  ๆ
          5) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกลไกการแข็งตัวของโลหะและวัสดุที่ใช้ในงานหล่อ
          6) เพื่อให้ผู้เรียนพิจารณาเลือกระบบจ่ายน้ำโลหะและการออกแบบรูล้น
          7) เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติเกี่ยวกับการหลอมและการเทน้ำโลหะ
          8) เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติการทำความสะอาดและตรวจคุณภาพงานหล่อ
          9) เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะปฏิบัติงานวิศวกรรมการหล่อโลหะ
          10) เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่องานทางด้านวิศวกรรมการหล่อโลหะ
เพื่อให้นักศึกษาได้มีองค์ความรู้ทางด้านการหล่อโลหะที่เป็นกระบวนการ สามารถที่จะปฏิบัติงานได้จริงเมื่อทำการศึกษาครบตามเนื้อหาสาระที่ได้ดำเนินการปรับปรุงให้สอดคล้องกับจำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการเรียนการสอนรวมทั้งคำนึงพื้นฐานของนักศึกษาที่จะเข้าศึกษาในรายวิชานี้เป็นสำคัญ ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวังให้นักศึกษาสามารถบูรณาการองค์ความรู้ที่เป็นพื้นฐานที่สำคัญทางด้านการหล่อโลหะ ที่สามารถจะนำไปใช้ในการปฏิบัติงานได้จริงเมื่อทำการศึกษาครบตามเนื้อหาสาระที่ได้ดำเนินการพัฒนาปรับปรุง
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับหลักการและกรรมวิธีการหล่อโลหะต่าง ๆ แบบหล่อทราย การทดสอบคุณสมบัติของทราย การทำแบบหล่อและไส้แบบด้วยทรายชนิดต่าง ๆ กลไกการแข็งตัวของน้ำโลหะ ระบบจ่ายน้ำโลหะ การออกแบบรูล้น วัสดุที่ใช้ในงานหล่อ การหลอมและเทน้ำโลหะ การทำความสะอาดและตรวจคุณภาพงานหล่อ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
สอดแทรกตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงภาระ ความรับผิดชอบของอาชีพวิศวกร และผลกระทบที่เกิดขึ้นหากวิศวกรไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

1.2.2 สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น
ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การลอกการบ้าน การลอกกันระหว่างการทดสอบย่อย เป็นต้น กำหนดบทลงโทษและชี้ให้เห็นถึงผลของพฤติกรรมดังกล่าวที่จะส่งผลกระทบต่อสังคมในอนาคต
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2    สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้เหมาะสมมากขึ้น
ความรู้ที่จะได้รับครอบคลุมตามวัตถุประสงค์รายวิชา ประกอบไปด้วย หลักการและกรรมวิธีการหล่อโลหะต่าง ๆ แบบหล่อทราย การทดสอบคุณสมบัติของทราย การทำแบบหล่อและไส้แบบด้วยทรายชนิดต่าง ๆ กลไกการแข็งตัวของน้ำโลหะ ระบบจ่ายน้ำโลหะ การออกแบบรูล้น วัสดุที่ใช้ในงานหล่อ การหลอมและเทน้ำโลหะ การทำความสะอาดและตรวจคุณภาพงานหล่อ  โดยนักศึกษาต้องสามารถบูรณาการความรู้วิชานี้กับวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ เช่น วิชาโลหะวิทยาในงานวิศวกรรม งานอบชุบโลหะ เป็นต้น รวมทั้งต้องมีความรู้เพียงพอในการประยุกต์ในงานจริงได้
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2   ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
2.3.3   พิจารณาจากกิจนิสัย ความตั้งใจและการเข้าร่วมกิจกรรม
สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือองค์ความรู้ต่อยอดจากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา 
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้
3.3.2   วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยีงานหล่อโลหะในปัจจุบัน การหล่อโลหะเพื่อผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ ทางอุตสาหกรรม หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข การใช้เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ตลอดจนการดูและบำรุงรักษาอย่างต่อเนื่อง
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยในรายวิชาวิศวกรรมการหล่อโลหะ กำหนดให้นักศึกษาต้องฝึกปฏิบัติตามใบงานที่กำหนดทั้งหมด 17 ใบงาน ซึ่งครอบคลุมตามเนื้อหาสาระของรายวิชา โดยเน้น Hands-On เป็นสำคัญ นอกเหนือจากผลการเรียนรู้ด้านอื่น ๆ ตามข้อที่ 1 - 5
ประเมินจากทักษะการปฏิบัติตามใบงานที่กำหนดแต่ละสัปดาห์
                   - ประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสารธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ สังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือ สื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้าน เวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 ENGIE207 วิศวกรรมงานหล่อโลหะ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1 - 5 บทที่ 6 - 9 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 15% 20%
2 ตามหัวข้อที่มอบหมาย วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 ทุกบทเรียน การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 บทเรียนปฏิบัติ การปฏิบัติงานตามใบงาน ตลอดภาคการศึกษา 40%
พีรพันธ์  บางพาน.  2534.  คู่มือปฏิบัติงานหล่อโลหะ 1.  เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่.
สุภชัย  ประเสริฐสกุล.  ม.ป.ป.  เทคโนโลยีงานหล่อโลหะ.  วิทยาเขตขอนแก่น.
J. T. H. Pearce. และ บัญชา  ธนบุญสมบัติ.  2542.  เทคโนโลยีและโลหะวิทยาของเหล็กหล่อผสม. กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
American Society for Metals.  1996.  ASM Handbook Volume 15 : Casting.  6th ed.  Materials Park, Ohio : ASM International.
American Society for Metals.  1995.  ASM Handbook Volume 9 : Metallography and Microstructures.   6th ed.  Materials Park, Ohio : ASM International.
Brown, John R., [editor].  2000.  Foseco Ferrous Foundryman’s Handbook.  Oxford : Butterworth Heinemann.
Davis, J.R., [editor].  1998.  Metals Handbook.  2nd ed.  Ohio : ASM International.
Flinn, Richard A.  1963.  Fundamentals of Metal Casting.  Reading, Massachusetts : Addison - Wesley Publishing Co.
Fredrikson, H. and Hillert, M., [editors].  1985.  The Physical Metallurgy of Cast Iron.  New York : North – Holland.
The American Foundrymen’s Society.  1993.  Ductile Iron Handbook.  Illinois : the American Foundrymen’s Society.
Walton, Charls F., [editor].  1981.  Iron Castings Handbook : Covering data on Gray, Malleable, Ductile, White, Alloy and Compacted Graphite Irons.  n.p. : Iron Castings Society.
        มนัส  สถิรจินดา.  2529.  เหล็กกล้า (Steel).  กรุงเทพฯ : วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์.
วีระพันธ์  สิทธิพงศ์.  2532.  โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 1.  กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา.
สุภชัย  ประเสริฐสกุล.  มปป.  โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 4.  วิทยาเขตขอนแก่น.
เอกสารสัมมนา.  ม,ป,ป.  งานหล่อโลหะ.
Askeland, Donald R. and Webster, P.  1990.  The Science and Engineering of Materials.  2nd ed. London : Chapman & Hall.
Baker, Hugh.  1992.  ASM Handbook Volume 3 : Alloy Phase Diagrams.  Ohio : ASM International.
Bramfitt, Bruce L. and Benscoter, Arlan O.  2002.  Metallographer’s Guide : Practices and Procedures for Irons and Steels.  Ohio : ASM International.
Japanese Standards Association.  1999.  JIS Handbook : Ferrous Materials & Metallurgy.  Tokyo : Japanese Standards Association.
       http://www.afsinc.org/
       http://www.aluminiumcastings.org/
       http://www.aluminum.org/
       http://www.asminternational.org/
       http://www.castaluminium.org/
       http://www.chaski.org/
       http://www.copper.org/
       http://www.diecasting.org/
       http://www.stainless-steel-world.net/
       http://www.sfsa.org/
       http://www.steel.org/
วีระพันธ์  สิทธิพงศ์.  2532.  โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 1.  กรุงเทพฯ : นิยมวิทยา.
สุภชัย  ประเสริฐสกุล.  มปป.  โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร 4.  วิทยาเขตขอนแก่น.
เอกสารสัมมนา.  ม,ป,ป.  งานหล่อโลหะ.
Askeland, Donald R. and Webster, P.  1990.  The Science and Engineering of Materials.  2nd ed. London : Chapman & Hall.
Baker, Hugh.  1992.  ASM Handbook Volume 3 : Alloy Phase Diagrams.  Ohio : ASM International.
Bramfitt, Bruce L. and Benscoter, Arlan O.  2002.  Metallographer’s Guide : Practices and Procedures for Irons and Steels.  Ohio : ASM International.
Japanese Standards Association.  1999.  JIS Handbook : Ferrous Materials & Metallurgy.  Tokyo : Japanese Standards Association.
       http://www.afsinc.org/multimedia/MCDP.cfm?navItemNumber=512
       http://www.aluminiumlearning.com/html/index_casting.html
       http://aluminium.matter.org.uk/content/html/eng/default.asp?catid=&pageid=1
       http://www.aluminiumsandcastings.com/casting-stamping-products.html
       http://www.backyardmetalcasting.com/links.html
       http://www.castingnb.com/index.html
       http://www.cwmdiecast.com/
       http://www.copperinfo.co.uk/
       http://www.diecastingindia.net/aluminium-casting-machine-components-.html
       http://www.dongruncasting.com/
       http://engineershandbook.com/MfgMethods/casting.htm
       http://www.foundry101.com/
       http://www.foundryworld.com/index/
       http://www.kohlswagjuteri.se/index.asp?activeImg=kohlswagjuteri&activeLang=en&activeChild=
       http://www.lostwaxcasting-china.com/
       http://www.matter.org.uk/steelmatter/
       http://www.mcc.uni.edu/
       http://www.steelalloycastings.com/
       http://www.steel-casting-forging.com/
       http://steellinks.com/pages/
       http://www.steellink.com/
       http://www.thaimetalcasting.com/
       http://thelibraryofmanufacturing.com/index.html
       http://thelibraryofmanufacturing.com/metalcasting_operation.html
       http://www.viridis3d.com/metalcasting.htm
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา

 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ