เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

Business Economics

-เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ขอบเขต ประวัติความเป็นมาของวิชาเศรษฐศาสตร์

-เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์หลักและทฤษฏีเศรษฐศาสตร์ไปใช้ในด้านธุรกิจ

-เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้รับประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน         
   
-เพื่อให้นักศึกษาเป็นแนวทางในการเลือกประกอบอาชีพเพื่อการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพสังคมปัจจุบัน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ธุรกิจได้อย่างถูกต้อง และเพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบันและสามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปใช้ในสายงานของตนเอง ในการศึกษาความคุ้มค่าในการลงทุนต่างๆ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคม
ทฤษฎีขั้นพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาคเพื่อเป็นพื้นฐานในการตัดสินใจทางธุรกิจว่าด้วยอุปสงค์ อุปทาน การกำหนดราคาของตลาด ความยืดหยุ่น พฤติกรรมผู้บริโภค ทฤษฎีการผลิต ต้นทุนการผลิต รายรับ กำไรทางธุรกิจและกำไรทางเศรษฐศาสตร์ ดุลยภาพของหน่วยผลิตในตลาดต่างๆ รายได้ประชาชาติ การเงินและการธนาคาร นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง การค้าและการเงินระหว่างประเทศ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงพลวัตทางเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจดำเนินการทางธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 -การสอบกลางภาค -สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 17 25% 25%
2 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ งานที่มอบหมาย รายงานกลุ่ม แบบฝึกหัด กรณีศึกษา การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา -งานที่มอบหมาย/รายงาน 20% -แบบฝึกหัด/กรณีศึกษา 10% -การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 10%
3 การเข้าชั้นเรียน/การมีส่วนร่วม/การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
จิตรา ปั้นรูป (2564). เอกสารประกอบการสอนวิชา เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ ตาก : คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์, มหาวิทยาลัยวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก. (อยู่ระหว่างปรับปรุง)
สุจินดา เจียมศรีพงษ์ (2558). เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ. พิษณุโลก : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.  
1.การประเมินตามผลลัพะ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา 

2.การประเมินการสอนโดยนักศึกษา

3.การเขียนสะท้อนความคิดเห็น  ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา  หลังจบบทเรียนในรายวิชา  
1.การประเมินตนเองหลังการสอน  และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละตรั้งโดยผู้สอน 

2.การประเมินตนเองหลังการสอน  จากผลการเรียนของนักศึกษาพิจารณาจากคะแนนสอบรายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย

3.การสังเกตการณ์อสนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กำหนดโดยผู้ร่วมสอน.  
1.การประชุมแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

2.พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอนโดยการอบรมสัมมนา

3.การทำวิจัยในชั้นเรียน
1.การประเมนิตามผลลัพธ์การเรียนรู้่โดยนักศึกษา

2.การประเมินการสอนโดยนักศึกษา

3.การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมินตามมคอ.3/มคอ.5โดยคณะกรรมการทวนสอบ

4.การประเมินข้อสอบ  การปฏิบัติงาน  และรายงานโครงการ  การให้คะุแนนที่มาของเกรดโดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรหรือสาขาวิชา
1.รายงานผบการทวนสอบฯต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา

2.นำผลการทวนสอบฯไปรายงานในมคอ.5และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไปโดยอาจารย์ผู้สอน

3.นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโดยหัวหน้าหลักสูตร