พุทธศาสนาและประติมานวิทยา

Buddhism and Iconography

     1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาของพุทธศาสนา และการรับพระพุทธศาสนาเข้ามาในประเทศไทย
     1.2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงข้อแตกต่างระหว่างลัทธิและนิกายต่างๆ หลักธรรมคำสอน อิทธิพลของพระพุทธศาสนาในประเทศไทยต่อวัฒนธรรมและคตินิยม
     1.3 เพื่อให้นักศึกษาเกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของพระพุทธศาสนา และประติมานวิทยาที่ปรากฏในงานศิลปะ
ไม่มี
ความเป็นมาของพระพุทธศาสนา การรับพระพุทธศาสนาเข้ามาในประเทศไทย ข้อแตกต่างระหว่างลัทธิและนิกายต่างๆ หลักธรรมคำสอน อิทธิพลของพระพุทธศาสนาในประเทศไทยต่อวัฒนธรรมและคตินิยม การปกครองและการศึกษาของพระสงฆ์ สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาและประติมานวิทยาที่ปรากฏในงานศิลปะ
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านทางป้ายประกาศของสาขาวิชาการท่องเที่ยว และการบริการ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 -   นักศึกษาสามารถติดต่ออาจารย์ได้ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทางไลน์ (Line) และโทรศัพท์มือถือ ในเวลาราชการ
    1.1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
    1.1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
    1.1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มีภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น
    1.1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
    1.2.1 กำหนดให้มีการนำเสนอหลักธรรมคำสอนโดยเฉพาะ
    1.2.2 สอนคุณธรรม จริยธรรม สอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
    1.2.3 สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
    1.2.4 สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code)
    1.2.5 การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่างๆ
    1.2.6 การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
    1.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา
    1.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์
    1.3.3 เช็คชื่อการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่างๆ
    2.1.1 มีความรู้ในศาสตร์เกี่ยวกับประติมาวิทยาของศาสนาพุทธอย่างกว้างขวางเป็นระบบ และทันต่อสถานการณ์โลก
    2.1.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
    2.1.3 มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและสามารถต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพ
    2.2.1 การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
    2.2.2 มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้า และทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
    2.2.3 ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริงภาคปฏิบัติ
    2.2.4 อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
    2.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา
    2.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์
    3.1.1 ความรู้ในศาสตร์เกี่ยวกับประติมาวิทยาของศาสนาพุทธ
    3.1.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
    3.1.3 ความรู้ในการต่อยอดองค์กรความรู้ในงานอาชีพและเทคนิคการแก้ไขปัญหา
    3.2.1 การอภิปรายเป็นกลุ่ม
    3.2.2 การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา
    3.2.3 การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ
    3.3.1 พิจารณาจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
    3.3.2 พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผล และการยกตัวอย่างที่น่าสนใจ และสร้างสรรค์
    4.1.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้
    4.1.2 มีความสามารถในการพัฒนาตัวเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและตรงตามมาตรฐานสากล
    4.1.3 มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้วิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
    4.2.1 เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่างๆ
    4.2.2 อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
    4.2.3 สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
    4.3.1 พิจารณาจากการสังเกตพฤติกรรมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างตรงเวลา
    4.3.2 พิจารณาจากการสังเกตการนำเสนองานกลุ่ม
    5.1.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย ในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสรุปประเด็นอย่างมีประสิทธิภาพ
    5.1.2 มีความสามารถในการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
    5.1.3 รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    5.2.1 การนำเสนองานเดี่ยวและการอภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
    5.2.2 การสอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
    5.3.1 พิจารณาจากพฤติกรรมการสื่อสารในการทำงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างเหมาะสม
    5.3.2 พิจารณาจากการสื่อสารในการร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
     ทอดแทรกวิธีการแต่งกายเพื่อเสริมสร้างบุคลิกภาพที่ดี มารยาทและการเข้าสังคมในโอกาสต่างๆ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การต่อรองและเจรจาอย่างสันติ รวมถึงการทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพอย่างเหมาะสมในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
     ส่งเสริมให้นักศึกษาประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในเชิงสร้างสรรค์ และสามารถต่อยอดทางธุรกิจท่องเที่ยว รวมทั้งการฝึกอบรมจากหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
     สอดแทรกผ่านรายวิชา กิจกรรมต่างๆ งานที่มอบหมายและโครงการเพ่อชุมชน/สังคมส่วนรวม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.2, 2.1-2.2, 3.3, 4.1, 5.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 25% 25%
2 2.1-2.2, 3.3, 4.1, 5.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 2.1-2.2, 3.3, 4.1, 5.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
พระพุทธศาสนาเบื้องต้น ของ รศ.ดร.ลักษณวัติ ปาละรัตน์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ประวัติพระพุทธศาสนา ของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การปกครองคณะสงฆ์ไทย ของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พุทธศาสนามหายาน ของ อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์
พุทธศิลป์สยาม ของ สุทธิจิตรา สุทธิธรรม
พุทธชาติชาดกกับจิตรกรรมฝาผนัง ของ นิดดา หงษ์วิวัฒน์
    เอกสารประกอบการอบรมมัคคุเทศก์ กรมการท่องเที่ยว
     เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น ธรรมะไทย, ธรรมจักร เป็นต้น
    การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
    1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
    1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
    1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
   ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
    2.1 การสังเกตการณ์ความสนใจของนักศึกษา
    2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
    2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
    หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
     3.1 ปรับวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับรูปแบบออนไลน์
     3.2 หากิจกรรมถาม-ตอบ เพื่อกระตุ้นความสนใจของนักศึกษา
    ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
     4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
     4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
    จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
    5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
    5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ