การสื่อสารโครงข่ายคอมพิวเตอร์

Computer Network Communication

ศึกษาเกี่ยวกับ โครงสรางของการสื่อสารผ่านโครงข่าย โครงสร้างของการสื่อสารผ่านโครงข่ายสมัยใหม่  การส่งข้อมูลของคอมพิวเตอร์มาตรฐาน  โครงสร้างของโครงข่ายขนาดเล็ก โครงสร้างของโครงข่ายขนาดเล็กที่ใช้การส่งความเร็วสูง  ตัวอย่างของโครงข่ายความเร็วสูงและการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของโครงข่ายขนาดเล็กด้วยอุปกรณ์ทางซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์
1. เพื่อความทันสมัย และความสอดคล้องของรายละเอียด เนื้อหารายวิชา กับเทคโนโลยีในปัจจุบัน
2. เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนรู้เกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
ศึกษาเกี่ยวกับ โครงสร้างของการสื่อสารผ่านโครงข่าย โครงสร้างของการสื่อสารผ่านโครงข่ายสมัยใหม่  การส่งข้อมูลของคอมพิวเตอร์มาตรฐาน  โครงสร้างของโครงข่ายขนาดเล็ก โครงสร้างของโครงข่ายขนาดเล็กที่ใช้การส่งความเร็วสูง  ตัวอย่างของโครงข่ายความเร็วสูงและการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของโครงข่ายขนาดเล็กด้วยอุปกรณ์ทางซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์
Study of structure of communication network; structure of modern communication network; data transmission of computer and standard; small and high speed communication network; example of high speed communication network and analysis of efficiency of communication network; software and hardware.
6
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.2.1 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร ในการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
1.2.2 การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา และการแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของสถาบันฯ
1.2.3 มอบหมายให้นักศึกษาท างานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ
1.2.4 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมนักศึกษาได้คิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา
1.2.5 ครูผู้สอนเป็นต้นแบบและเป็นแบบอย่างที่ดี
1.3.1 ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
1.3.2 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ได้แก่ การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้า ร่วมกิจกรรม
1.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน ได้แก่ การทำงานร่วมกับผู้อื่น และการช่วยเหลือเพื่อน มีความ เอื้อเฟื้อในระหว่างการเรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
2.1.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนดสามารถติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
2.1.4 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
- วิธีสอนแบบบรรยาย อภิปราย การนำเสนองาน
- ศึกษาเอกสารประกอบการสอนและเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ศึกษาค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต - แบ่งกลุ่มนักศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติม จัดทำรายงาน และอภิปรายในชั้นเรียน
- นักศึกษาศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์แสดงความคิดเห็นเป็นรายบุคคล โดยทำรายงานและอภิปรายในชั้นเรียน
- ทำกิจกรรมเสริมบทเรียนจากแบบฝึกปฏิบัติการ
- ตอบคำถามทบทวนท้ายบท
- การทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
- การค้นคว้าและรายงานกลุ่ม
- แบบฝึกปฏิบัติการ
- การตอบคำถามทบทวนท้ายบท
3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
การมอบหมายให้นักศึกษาท าโครงงาน และน าเสนอผลการศึกษา
- จากการวิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคนิคการเขียนโปรแกรม มาใช้ในการแก้ปัญหา
- การสะท้อนแนวคิดจากผลลัพธ์ที่เกิดจากการเขียนโปรแกรม และความประพฤติ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โจทย์ทางวิทยาศาสตร์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ
4.1.2 มีความรับผิดชอบในการกระท าของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์โจทย์กรณีศึกษา และการนำเสนอวิธีแก้ปัญหา
- มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าการประยุกต์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานต่างๆ การใช้คอมพิวเตอรอำนวยความสะดวกในชีวิตประจ าวัน
- การนำสนอรายงาน
- ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
- รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานทที่เกี่ยวกับคอมพวิเตอร์
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง(Self-study) จากเว็บไซต์ สื่อการสอน e-Learning บทเรียน คอมพิวเตอร์และท ารายงาน โดยเน้นการน าตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ การท างานกลุ่ม การท างานเป็นรายบุคคล สอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก(Problem-Based Learning)
- นำเสนอและอภิปราย(Discussion) โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
- การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคล และความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEE215 การสื่อสารโครงข่ายคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 1.5, 1.7, 2.1-2.5, 2.7-2.8, 3.1-3.4, 5.1 สอบกลางภาค สอบปฏิบัติการ สอบปลายภาค 9,17 40%, 40%
2 1.1, 1.3, 1.5, 1.7, 2.1-2.5, 2.7-2.8, 3.1-3.4, 4.1,4.6, 5.1-5.4 การส่งงานตามที่มอบหมาย รายบุคคล ตลอดภาคการศึกษา 20%
วาทิต เบญจพลกุล. (2555). การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย = Data communication and networking. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รศ.ดร. จักรชัย โสอินทร์, เพชร อิ่มทองคำ, คมเดช เผือดผุด. คู่มือเรียนและใช้งาน Computer Network Lab ฉบับมืออาชีพ 2nd Edition
สุธี พงศาสกุลชัย, ณรงค์ ล่ าดี. (2551). การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์.
https:/www.cs.ssru.ac.th/satien
https:/il.mahidol.ac.th/e-media/computer/network/net_index.htm
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดท าโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการน าแนวคิดและความเห็นจาก นักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา (ที่ประเมินโดยผู้เรียน)
- ข้อเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- ผลการสอบของนักเรียนที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
- หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ตรวจสอบ ทักษะพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- การทวนสอบทักษะพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรในรูปแบบคณะ
- การอนุมัติผลการเรียนโดยกรรมการประจำคณะ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และ รายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น