การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย

Data Communication and Networking

1.1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานในเรื่องของการสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย 1.2  เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย 1.3  เพื่อให้นักศึกษานำหลักการและทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบระบบสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย
 
2.1  ในการปรับปรุงรายวิชา เพื่อต้องการให้นักศึกษามีความรู้ในวิวัฒนาการเรื่องของระบบสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย 2.2  ในการปรับปรุงรายวิชา เพื่อต้องการให้นักศึกษามีความรู้และทันเทคโนโลยีในเรื่องของระบบสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย
 
ศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย สถาปัตยกรรมแบบเป็นลำดับชั้นของโครงข่าย โปรโตคอลและการเชื่อมต่อจุดต่อจุด แบบจำลองความล่าช้าในโครงข่ายการสื่อสาร โปรโตคอลชั้นสื่อสารย่อยควบคุมการใช้สื่อการทำงานในชั้นเชื่อมต่อข้อมูล การควบคุมการไหลของข้อมูล การควบคุมการความผิดพลาด โครงข่ายท้องถิ่น โครงข่ายสวิตชิ่ง การจัดหาเส้นทางเดินให้กับข้อมูลในโครงข่าย ความปลอดภัยของข้อมูล การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ สถาปัตยกรรมและระบบของโครงข่าย มาตรฐานต่างๆ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านบอร์ดติดประกาศของสาขาวิชา
-   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ จำนวน 1 ชั่วโมง (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1)   เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสีย สละ และ ซื่อสัตย์สุจริต (2)   มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (3)  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ   รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
 
(1) ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
(2) สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง สังคม คุณธรรม และจริยธรรม
(3) ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
(4) ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ  
(1)  การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
(2)  พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
(3)  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
(1)   มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี (2)  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขา วิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
 
(1) ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ (2)  มอบหมายให้ทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน (3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
(1) ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ (2) การทดสอบย่อย  (3) พิจารณาจากรายงานที่มอบหมาย
 
(1)  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี (2)  สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบ การตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3)  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
 
(1) ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง (2) มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ (3) มอบหมายงานโครงงานโดยใช้หลักการวิจัย (4) การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
 
(1) ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินและการแก้ปัญหา (2) ประเมินผลจากการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง (3) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
 
รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม สามารถปรับตัว และทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
(1) สอนทฤษฎีของระบบสื่อสารข้อมูลแลโครงข่าย
(2) ให้ความสำคัญในการทำงานให้เกิดความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
(3) ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
(4) ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
(1) ประเมินจากการสอบภาคทฤษฎีและงานที่ได้รับมอบหมาย
(2) ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
(1)  มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี (2)  มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ (3)  สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องได้
 
(1) ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
(2) มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
(3) การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 
(4) ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
 (1) ประเมินผลจากคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน  (2) ประเมินจากผลงาน และความสนใจต่อการเรียน
 
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ 5. วิเคราะห์เชิงตัวเลข 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 4 5 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEE202 การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เนื้อหาจากการสอนสัปดาห์ที่ 1-15 สอบกลางภาค สอบก่อนปลายภาค สอบปลายภาค 9 13 17 30% 10% 30%
2 ส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 การนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย และ เสนอความคิดเห็นใน ชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาการสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย โดย  ผศ.กฤษดา ยิ่งขยัน 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย ผู้แต่ง นรรัตน์ วัฒนมงคล การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย ผู้แต่ง วาฑิต เบญจพลกุล Data Communication and Networking 5E  โดย BE ผู้แต่ง Behrouz A.Forouzan
 
Website ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลงานวิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (โครงข่าย)
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรงต่อเวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลรายวิชาและการใช้ สื่อการสอนในรายวิชา
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในด้านทักษะกลยุทธ์การสอน และการใช้ สื่อการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - ปรับปรุงสื่อการสอนคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมช่วยแสดงผลการจำลองการเขียนโปรแกรม -  ยกตัวอย่างการระบบที่ใช้ระบบไมโครโปรเซสเซอร์ช่วยแสดงผลการจำลอง
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอ บการให้ คะแนนจากการสุ่ มต รว จ ผล งานข อ งนักศึกษาโดยอาจารย์ อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ