วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ

Research Methodology in Design

เพื่อศึกษาระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ การกำหนดปัญหาวิจัย การเขียนโครงร่างงานวิจัย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ การกำหนดปัญหาวิจัย การเขียนโครงร่างงานวิจัย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ การกำหนดปัญหาวิจัย การเขียนโครงร่างงานวิจัย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย
1
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีความรู้ และความเข้าใจ ในระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ การกำหนดปัญหาวิจัย  การเขียนโครงร่างงานวิจัย  วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานการวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย
 2.2.1 บรรยาย สังเกต และถาม-ตอบ 
 2.2.2 ยกตัวอย่างด้วยสื่อเทคโนโลยี 
 2.2.3 แนะนำเอกสารประกอบการเรียน
2.3.1 มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2.3.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดจากหลักการและทฤษฏีตามบทเรียน 
2.3.3 จากการปฏิบัติงานตามบทเรียนภายในห้องเรียนและนอกเวลาเรียน
2.3.4 การทดสอบความรู้ตามบทเรียน
 2.3.5 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาทางด้านคุณธรรมและจริยธรรมและสอดแทรกความซื่อสัตย์สุจริต
พัฒนาความสามารถในการคิด และเขียนอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการศึกษาระเบียบวิธีวิจัย เอกสารผลงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนาเครื่องเรือน กระบวนการทำวิจัย การวางแผน การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือ สถิติและการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลงานวิจัย และรูปแบบการรายงาน
3.2.1 บรรยาย สังเกต  ถาม-ตอบ  ยกตัวอย่าง แบบฝึกหัด และฝึกปฏิบัติวิเคราะห์และแก้ไขปัญหากระบวนการกลุ่ม 
3.2.2 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม   มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดจากหลักการและทฤษฏีตามบทเรียน
3.3.2 จากการปฏิบัติงานตามบทเรียนภายในห้องเรียนและนอกเวลาเรียน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ทางด้านคุณธรรมและจริยธรรมต่อตนเองและสังคม
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล 
4.2.2 การทดสอบและฝึกปฏิบัติงานตามบทเรียนภายในห้องเรียนและนอกเวลาเรียน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยเอกสารที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
3.2.2 ประเมินจากการฝึกปฏิบัติวิเคราะห์และแก้ไขปัญหากระบวนการกลุ่ม
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน 
5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้นหาเอกสารและข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนองานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานและแบบฝึกหัดให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อเทคโนโลยี
5.2.2 ส่งงานและแบบฝึกหัดทางอินเตอร์เน็ต
5.3.1 ประเมินผลงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินผลจากการใช้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และทักษะการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะควาสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 2 1 3 3 2 1 2 3
1 BAACC402 วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2538). ชุดวิชาวิจัยทางการศึกษานอกโรงเรียน เล่มที่ 4: การศึกษาเอกสารที่
เกี่ยวข้องกับการวิจัย. กรุงเทพฯ: กรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ.
นงลักษณ์ วิรัชชัย และคณะ. (2533). คู่มือการเขียนโครงการวิจัย. วารสารการวัดผลการศึกษา.
กรุงเทพฯ:12(35): 43-72.ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
            มหาวิทยาลัย.
นงลักษณ์  วิรัชชัย (20-22 กรกฎาคม 2543).  (เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “การทบทวน
            งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง” ในโครงการอบรมเรื่อง เทคนิคการดำเนินการวิจัยด้านการแพทย์
             และสาธารณสุข รุ่นที่ 2 ,กรุงเทพมหานคร :จัดโดย คณะสาธารณสุขศาสตร์ 
             มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ห้องไพลิน โรงแรมอมารี เอเที่ยม ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ 
             บางกะปิ เขตห้วยขวาง.
ระวีวรรณ  ชินะตระกูล. (2542). คู่มือทำการวิจัยทางการศึกษา.พิษณุโลก:สำนักหอสมุด
             มหาวิทยาลัยนเรศวร
Adams, G.R. and Schvaneveldt, J.D. (1991). Understanding Research Methods. 
             (SecondEdition). New York: Longman.
Bell, J. (1993). Doing Your Research Project: A Guide for First-Time Researchers in
Education and Social Sciences. Buckingham, Philadelphia: Open University 
            Press.
Best, J.W. and Kahn, J.V. (1993). Research in Education. (Seventh Edition). Boston: 
            Allyn and Bacon.
Butler, D.L. and Winne, P.H. (1995). Feedback and Self-Regulated Learning: 
            A Theoretical Synthesis. Review of Educational Research. 65(3):245-281.
Cash, P. (1983). How to Write a Research Paper Step by Step. New York: 
            Monarch Press.
Cooper, H.M. (1984). The Integrative Research Review: A Systematic Approach. 
            Beverly Hills: Sage Publications.
Cozby, P.C. (1995). Methods in Behavioral Research. (Third Edition). London: 
            Mayfield Publishing Company.
Dooley, D. (1990). Social Research Methods. (Second Edition). Englewood Cliffs,  
            N.J.: Prentice Hall.
Farenkel,J.R. and Wallen,N.E.(1993). How to Design and Evaluate Research in 
            Education. McGraw-Hill, Inc.
Glass, G.V., McGaw,B. and Smith, M.L. (1981). Meta-Analysis in Social Research. 
            Beverly Hills: Sage Publications.
Hedges, L.V.and Olkin, L. (1985). Statistical Methods for Meta-Analysis. Orlando, 
            Florida: Academic Press.
Hills, J. and Gibson, C. (1992). A Conceptual Framework fo Thinking about 
            Conceptual Frameworks: Bridging the Theory-Practice Gap. Journal of 
            Educational Administration.  30(4): 4-24.
Hunter, J.E. and Schmidt, F.L. (1990). Methods of Meta-Analysis: Correcting Error 
            and Bias in Research Findings. Newbury Park: Sage Publications.
Neuman,W.L.(1991).Social Research Methods: Qualitative and Quantitative 
            Approaches. Boston: Allyn and Bacon.
Rosenthal, R. and Rosnow, R.L. (1991). Essentials of Behavioral Research Methods 
            and Data Analysis. New York: McGraw-Hill, Inc.
Shaughnessy, J.J. and Zechmeister, E.B.(1994).Research Methods in Psychology. 
             New York: McGraw-Hill, Inc.
Sotiriou, P.E. (1984). Integrating College Study Skills: Reasoning in Reading, 
             Listening and Writing. Belmont, California: Wadsworth Publishing Company.
Turabian, K.L. (1996). A Manual for Writers of Term Papers, Thesis and 
             Dissertations. (Sixth Edition). Chicago: The University of Chicago Press.
Van Til, W. (1986). Writing for Professional Publications. (Second Edition). Boston: 
             Allyn and Bacon, Inc.
Wiersma, W. (1991). Research Methods in Education: An Introduction. Boston: Allyn 
             and Bacon.
บุญชม  ศรีสะอาด.(2535). การวิจัยเบื้องต้น.พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพฯ:สุวิริยาสาสน์.
มนสิช  สิทธิสมบูรณ์.(2543). พื้นฐานการวิจัย.พิษณุโลก.:(เอกสารประกอบการสอน)
            มหาวิทยาลัยนเรศวร.
มนสิช  สิทธิสมบูรณ์.(2543). พื้นฐานการวิจัย.พิษณุโลก.:(เอกสารประกอบการสอน)
            มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ศรีพรรณ  สิทธิพงศ์(2538). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย.เชียงใหม่. :ภาควิชาทดสอบและวิจัย
            การศึกษา คณะครุศาสตร์  สถาบันราชภัฏเชียงใหม่. 
______(2540).ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย.วิจัย.เชียงใหม่. :ภาควิชาทดสอบและวิจัยการ
            ศึกษา คณะครุศาสตร์  สถาบันราชภัฎเชียงใหม่. 
อุทุมพร  (ทองอุไร)จามรมาน(2532). การเขียนโครงการวิจัย.กรุงเทพฯ. :ภาควิชาทดสอบและ
            วิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่. โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล.
Fraenkel, Jackel R. and  Norman  E. Wallen.(1990). How to Design  and  Evaluate 
             Reseaceh  in Education.4  th  ed  New  York:Mc  McGraw-Hill.
เกษม  สาหร่ายทิพย์.(2543). การวิจัยและการสร้างเครื่องมือสำหรับการวิจัยทางพฤติกรรม
            ศาสตร์และสังคมศาสตร์.พิษณุโลก : ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
บุญธรรม  กิจปรีดาบริสุทธิ์.(2540).ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์.พิมพ์ครั้ง
            ที่ 5.กรุงเทพฯ:สามเจริญพาณิชย์. 
บัณฑิตวิทยาลัย.(2541).คู่มือการจัดทำบทวิทยานิพนธ์.พิษณุโลก:มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พวงรัตน์  ทวิรัตน์.(2540).วิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์.พิมพ์ครั้ง
            ที่ 2.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล.
มนสิช  สิทธิสมบูรณ์.(2543).พื้นฐานการวิจัย.พิษณุโลก.:(เอกสารประกอบการสอน)
            มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วาณี  เอี่ยมศรีทองและคณะ.(2542).ตุงภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาเป็นอาชีพ.เชียงใหม่:
            ภาควิชาอาชีวศึกษา.
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการณ์ของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา แบบฝึกหัดหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา การร่วมวิเคราะห์งานกลุ่ม รวมถึงพิจารณาจากผลการ สังเกต การทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการทดสอบและแบบฝึกหัดของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น 
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์