เคมีมูลฐานสำหรับวิศวกร

Fundamentals of Chemistry for Engineers

: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. เข้าใจพื้นฐานของทฤษฎีอะตอมและปริมาณสารสัมพันธ์  สมบัติของก๊าซ  ของแข็ง  ของเหลวและสารละลาย
2. เข้าใจหลักการของสมดุลเคมี  ปฏิกิริยากรด-เบส  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. เข้าใจโครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม  พันธะเคมี  สมบัติตามตารางธาตุ
4. เข้าใจหลักการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์  โดยใช้ความรู้ทางเคมี
1. ให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีทางเคมีพื้นฐานเพิ่มขึ้น
2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับ โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุและแนวโน้มสมบัติของธาตุ พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส สารละลาย จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี ปฏิกิริยากรด-เบส Study and Practice of atomic structure, periodic table and properties of elements, chemical bond, stoichiometry, solid, liquid, gas, solutions, chemical kinetics, chemical equilibrium, acid-base reaction.
1 วันพุธ คาบกิจกรรม
2. ทุกวัน เวลา 19.00-20.00 โดยช่องทาง socail media หรือผ่านโทรศัพท์
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม (4) เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
(1) การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม (2) ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร (3) ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (4) ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหารายวิชาเคมีมูลฐานสำหรับวิศวกร (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรายวิชาเคมีมูลฐานสำหรับวิศวกร (3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี 
(1) การทดสอบย่อย (2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (3) งานที่ได้มอบหมาย (4) การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆโดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
(1) การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่างๆ  (2) การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน (3) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี (2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม (3) สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม (4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นโดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้และทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในความรับผิดชอบ
(1) พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน (2) พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม (2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม (3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
(1) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร (2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล (3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน (4) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
(1) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร (2) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล (3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน (4) จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNSC203 เคมีมูลฐานสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 15%
2 1.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า นำเสนองาน รายงานที่ได้รับมอบหมาย การทำงานกลุ่ม ปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 1, 2, 3, 4, 6, 8, 10, 11, 12, 14, 15, 16 30%
3 2.1, 5.2 การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ทดสอบย่อย 9 18 2-8, 10-12, 14-16 55%
อภิสิฏฐ์ ศงสะเสน, เคมีทั่วไปสำหรับวิศวกร 1, กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2554. อภิสิฏฐ์ ศงสะเสน, เคมีทั่วไปสำหรับวิศวกร 2, กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2554.
Atkins, P., and Jones, L., Chemical Pinciples, W.H. Freeman, New York, 2nd., 2002. Chang, R., Chemistry, McGraw-Hill, New York, 9th ed., 2007.
Miessler, G.L., and Tarr, D.A., Inorganic Chemistry, Prentice Hall, New Jersey, 3rd ed.,
พรทิพย์ ศัพท์อนันต์. 2533. ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์. คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 121 น.
ภาควิชาเคมี. 2544. คู่มือการสอนปฏิบัติการ. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 55 น.
ภาควิชาเคมี. 2539. ปฏิบัติการเคมีทั่วไป เล่ม1. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 72 น.
ภาควิชาเคมี. 2538. ปฏิบัติการเคมีทั่วไป เล่ม2. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 91 น.
ภาควิชาเคมี. 2545. ปฏิบัติการเคมีเบื้องต้น. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 98 น.
ภาควิชาเคมี. 2545. ปฏิบัติการเคมีสำหรับวิศวกร. คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 126 น.
ภาควิชาเคมี. 2545. ปฏิบัติการเคมี1. คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 109 น.
http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/chemistry/index.htm 
https://www.khanacademy.org/science/chemistry
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินรายวิชา
2.1 แบบประเมินผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา
3.2 จัดทำ และพัฒนาเอกสารประกอบการสอน สื่อการสอน
3.3 การประชุมกลุ่มเคมี พัฒนาเนื้อหาการสอน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
5.1 ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามผลการประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา
5.3 ปรับปรุงกระบวนวิชาในช่วงเวลาการปรับปรุงหลักสูตร