การอนุรักษ์ความหลากหลายของพืชและการประยุกต์ใช้สารองค์ ประกอบสำคัญ

Plant Diversity Conservation and Application of Functional Ingredients

          1. เข้าใจวิธีการเก็บรวมรวม ปกปัก และอนุรักษ์ความหลากหลายของพืช เพื่อเป็นแหล่งธนาคารยีน
          2. สามารถจำแนกความหลากหลายของพืช โดยการใช้ลักษณะทางด้านสัณฐานวิทยา พฤกษเคมี และเครื่องหมายทางโมเลกุลได้
          3. สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพและส่วนประกอบมูลค่าสูงจากความหลากหลายของพืช
มีเพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจในวิธีการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ในด้านการเก็บรวบ การปกปัก การทำธนาคารยีนความหลากหลายของพืช การจำแนก และการใช้ประโยชน์จากสารสำคัญส่วนประกอบมูลค่าสูง
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความหลากหลายของพืชและธนาคารยีน การใช้เทคโนโลยีจัดจำแนกพืช โดยการใช้ลักษณะทางด้านสัณฐานวิทยา ทางพฤกษเคมี และการใช้เครื่องหมายทางโมเลกุล ตลอดจนการประยุกต์ใช้ลักษณะเหล่านั้นต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพและส่วนประกอบมูลค่าสูง
The study and practice of plant diversity conservation and gene banks. Applications of technology plant classification included morphology, phytochemical, molecular markers utilization for functional food and functional ingredients.
1 ชั่วโมง
1.2  มีวินัยขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Instructional Models of Cooperative Learning)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
1. ประเมินจากการรับผิดชอบในงานการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีเหตุผลในการวินิจฉัยปัญหา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
1. การสอนแบบทดลอง (Experimental Method)
2. วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
3. การสอนแบบชุมชนเป็นฐาน
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
3. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
1. การสอนแบบบูรณาการ (Integration Instruction)
2. การสอนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
3. วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
4. การสอนแบบชุมชนเป็นฐาน
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
4.3  สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.4 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่งวไป
4.5 มีภาวะผู้นำ
1. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบกระบวนการกลุ่ม (Group Process)
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ  และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
5.2 สามาถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ
5.3 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1. วิธีสอนแบบสถาณการณ์จำลอง (Simulation Method)
1. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ  การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ  มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method)
2. การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้(Inquiry Process)
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะปฏิบัติ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม 1.3 จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.4 สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรมเชิงวิชาการหรือวิชาชีพที่ซับซ้อนโดยสามารถวางแผนจัดลำดับความสำคัญได้ 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา 2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง 2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม 2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ 3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ 3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 สามารถแก้ไขปัญหาทางวิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง 4.3 สามารถประเมินตนเองได้ รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้ 4.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะ รวมทั้งแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.5 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 มีทักษะในการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติในการศึกษาค้นคว้าสรุปและเสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถนำเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งวิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สำคัญ 5.3. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้สารสนเทศและเทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1 MSCPT206 การอนุรักษ์ความหลากหลายของพืชและการประยุกต์ใช้สารองค์ ประกอบสำคัญ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,3.1,4.3,4.4,4.5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 18 20
2 2.1,2.2,3.1,4.3,4.4,4.5,5.2,5.3,6.1,6.2 การทำโครงงานกรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคกาคศึกษา 55
3 1.2,6.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
4 1.2 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-16 5
5 4.3,4.4,4.5 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-16 5
6 4.3,4.4,4.5 การประเมินด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 5
Plant Diversity and Conservation Kindle Edition by J. S. Singh, A. K. Bhatnagar
Plant Diversity And Conservation In India An Overview Hardcover by H.J. Chowdhary, S. K. Murti
Plant Conservation and Biodiversity Editors: David L. Hawksworth, Alan T. Bull
Plant Conservation Science and Practice: The Role of Botanic Gardens (Ecology, Biodiversity and Conservation) 1st Edition by Stephen Blackmore, Sara Oldfield
Plant Diversity And Conservation In India An Overview Hardcover – 1 January 2000
by H.J. Chowdhary, S. K. Murti
Plants: Diversity and Evolution 1st Edition by Martin Ingrouille
Vegetation and Plant Diversity by Ravindra P. Shukla, Sanjay Kumar Pandey
Plant Diversity by J. Phil Gibson
Plant Diversity-I by Dr. Hema Sane, D.R. Mahajan, Dr. S.S. Sagar, Dr. B. Deshmukh
คำสำคัญ Plant Diversity and Conservation, Application of Functional Ingredients
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและ   กลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป