การวางแผนทดลองทางการเกษตร
Experimental Designs for Agriculture
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนการทดลองแบบต่าง ๆ ด้านการเกษตร การวิเคราะห์ข้อมูล การทดสอบสมมติฐาน และการแปลผล ตลอดจนการรายงานผลการทดลอง
เพื่อให้นักศึกษาประยุกต์ใช้แผนการทดลองได้เหมาะสมกับเงื่อนไขของหน่วยทดลอง สามารถนำไปใช้วางแผนเพื่อการวิจัย และประยุกต์ใช้ในการทำงาน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการวิจัยเชิงการทดลอง หลักการวางแผนการทดลอง สมมติฐานการทดลอง แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบลาตินสแคว์ การจัดแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียล แผนการทดลองประยุกต์ทางการเกษตร การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย สหสัมพันธ์ สมการถดถอย การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์ผลทางสถิติ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพของนักวิจัย เคารพในสิทธิและสวัสดิภาพของสัตว์ทดลอง มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น ตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพของนักวิจัย มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อการทำวิจัย เคารพในสิทธิและศักดิ์ศรีของสัตว์ โดยคำนึงถึงสวัสดิภาพของสัตว์ที่นำมาทำการทดลอง เคารพในการวิจารณ์ และรับฟังความคิดเห็นผู้อื่นเพื่อทำให้การทำวิจัยมีคุณค่ายิ่งขึ้น เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพของนักวิจัย มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อการทำวิจัย เคารพในสิทธิและศักดิ์ศรีของสัตว์ โดยคำนึงถึงสวัสดิภาพของสัตว์ที่นำมาทำการทดลอง เคารพในการวิจารณ์ และรับฟังความคิดเห็นผู้อื่นเพื่อทำให้การทำวิจัยมีคุณค่ายิ่งขึ้น เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
วิธีการสอน
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สัตว์ทดลอง การเคารพในผลงานวิจัยของผู้อื่น การเข้าใจลิขสิทธิ์ของผลงานวิจัยทั้งของตนเองและผู้อื่น
การให้อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับสิทธิของสัตว์ทดลอง หรือลิขสิทธิ์ หรือทรัพย์สินทางปัญญาที่เป็นผลงานการวิจัย
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สัตว์ทดลอง การเคารพในผลงานวิจัยของผู้อื่น การเข้าใจลิขสิทธิ์ของผลงานวิจัยทั้งของตนเองและผู้อื่น
การให้อภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับสิทธิของสัตว์ทดลอง หรือลิขสิทธิ์ หรือทรัพย์สินทางปัญญาที่เป็นผลงานการวิจัย
1.3.1 การสังเกตจากการนำเสนอ และการอภิปราย
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญของการวางแผนการทดลองที่ดี การสามารถเลือกใช้แผนการทดลองได้เหมาะสมกับสถานการณ์ และเงื่อนไขของหน่วยทดลองที่มี หรือจัดแผนการทดลองได้เหมาะสมกับลักษณะทางชีววิทยาของหน่วยทดลองแต่ละชนิด ทำการวิเคราะห์เชิงสถิติและทดสอบสมมติฐานได้ถูกต้อง กระทั่งนำไปสู่ผลสรุปที่ชัดเจน ไม่คลุมเครือ
มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญของการวางแผนการทดลองที่ดี การสามารถเลือกใช้แผนการทดลองได้เหมาะสมกับสถานการณ์ และเงื่อนไขของหน่วยทดลองที่มี หรือจัดแผนการทดลองได้เหมาะสมกับลักษณะทางชีววิทยาของหน่วยทดลองแต่ละชนิด ทำการวิเคราะห์เชิงสถิติและทดสอบสมมติฐานได้ถูกต้อง กระทั่งนำไปสู่ผลสรุปที่ชัดเจน ไม่คลุมเครือ
2.2 วิธีการสอน
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เป็นกรณีศึกษาในแผนการทดลองแบบต่าง ๆ โดยคำนึงถึงเงื่อนไขของการใช้แผนการทดลอง แสดงวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติให้เห็น กระทั่งนักศึกษาสามารถทำการวิเคราะห์ได้เอง ฝึกปฏิบัติการด้านต่าง ๆ ในการดำเนินการทดลอง เช่น การเลือกและเตรียมหน่วยทดลอง การสุ่มหน่วยทดลอง การบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การทำรายงานและสรุปผล ในลักษณะการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Problem – based Learning) ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักศึกษานำเสนอ และอภิปรายกลุ่มในกรณีศึกษาจากการปฏิบัติการทดลอง และมอบหมายให้ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เป็นกรณีศึกษาในแผนการทดลองแบบต่าง ๆ โดยคำนึงถึงเงื่อนไขของการใช้แผนการทดลอง แสดงวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติให้เห็น กระทั่งนักศึกษาสามารถทำการวิเคราะห์ได้เอง ฝึกปฏิบัติการด้านต่าง ๆ ในการดำเนินการทดลอง เช่น การเลือกและเตรียมหน่วยทดลอง การสุ่มหน่วยทดลอง การบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การทำรายงานและสรุปผล ในลักษณะการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Problem – based Learning) ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้นักศึกษานำเสนอ และอภิปรายกลุ่มในกรณีศึกษาจากการปฏิบัติการทดลอง และมอบหมายให้ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
2.3 วิธีการประเมินผล
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
ประเมินจากการปฏิบัติการดำเนินการทดลอง การนำเสนอผลการทดลอง และการค้นคว้าข้อมูล
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
ประเมินจากการปฏิบัติการดำเนินการทดลอง การนำเสนอผลการทดลอง และการค้นคว้าข้อมูล
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้สามารถดัดแปลงแผนการทดลองให้เหมาะสมกับหน่วยทดลองหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ได้ และเกิดการเรียนรู้ด้านการใช้ซอร์ฟแวร์เพื่อนำมาช่วยวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้สามารถดัดแปลงแผนการทดลองให้เหมาะสมกับหน่วยทดลองหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ได้ และเกิดการเรียนรู้ด้านการใช้ซอร์ฟแวร์เพื่อนำมาช่วยวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษด้านการวางแผนทำการทดลอง ตามหัวขัอที่สนใจ ที่ให้สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากการอภิปราย
3.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษด้านการวางแผนทำการทดลอง ตามหัวขัอที่สนใจ ที่ให้สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากการอภิปราย
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค เน้นการวิเคราะห์เพื่อให้นักศึกษาตัดสินใจว่าจะเลือกใช้แผนการทดลองแบบใดตามเงื่อนไข หรือสถานการณ์ที่กำหนด
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการพิเศษ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค เน้นการวิเคราะห์เพื่อให้นักศึกษาตัดสินใจว่าจะเลือกใช้แผนการทดลองแบบใดตามเงื่อนไข หรือสถานการณ์ที่กำหนด
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการพิเศษ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานจากการทำโครงงานเป็นกลุ่ม
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานจากการทำโครงงานเป็นกลุ่ม
4.2 วิธีการสอน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มสำหรับให้ทำการอภิปราย และวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มสำหรับให้ทำการอภิปราย และวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะการใช้ซอร์ฟแวร์ช่วยการวิเคราะห์ข้อมูล
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะการใช้ซอร์ฟแวร์ช่วยการวิเคราะห์ข้อมูล
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
5.2.1 มอบหมายแบบฝึกหัดให้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข โดยใช้เครื่องคำนวณช่วย และการใช้ซอร์ฟแวร์ทางสถิติ
5.2.2 ให้ทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.3 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายแบบฝึกหัดให้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข โดยใช้เครื่องคำนวณช่วย และการใช้ซอร์ฟแวร์ทางสถิติ
5.2.2 ให้ทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.3 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.1 ตรวจประเมินจากแบบฝึกหัด
5.3.2 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.3 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.1 ตรวจประเมินจากแบบฝึกหัด
5.3.2 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.3 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การสอนแบบกรณีศึกษา
(Case Studies)
2. การสอนแบบสถานการณ์
จำลอง (Simulation)
3. การสอนแบบ Problem
Based Learning
(Case Studies)
2. การสอนแบบสถานการณ์
จำลอง (Simulation)
3. การสอนแบบ Problem
Based Learning
1. สถานการณ์จำลอง
2. การนำเสนองาน
3. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
2. การนำเสนองาน
3. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) | 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) | 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) | 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill) (ถ้ามี) | ||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม | 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม | 2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโน โลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา | 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ | 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม | 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม | 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม | 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง | 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ | 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ |
1 | BSCAG008 | การวางแผนทดลองทางการเกษตร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | สอบกลางภาค | ข้อสอบอัตนัย | 9 | 25 |
2 | สอบปลายภาค | ข้อสอบอัตนัย | 18 | 25 |
3 | การทำแบบฝึกหัด | ตรวจแบบฝึกหัด | ตลอดภาคการศึกษา | 25 |
4 | การทำรายงาน | ตรวจรายงาน | 17-18 | 10 |
5 | การทำงานกลุ่ม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | จากการสังเกต | ตลอดภาคการศึกษา | 15 |
มนต์ชัย ดวงจินดา. 2544. การใช้โปรแกรม SAS เพื่อวิเคราะห์งานวิจัยทางสัตว์. ปรับปรุงครั้งที่ 2, ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
ศรเทพ ธัมวาสร. 2539. เทคนิคการวิจัยทางด้านสัตวบาล. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ ฯ.
อนันต์ชัย เขื่อนธรรม. 2539. หลักการวางแผนการทดลอง. ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ ฯ.
ศรเทพ ธัมวาสร. 2539. เทคนิคการวิจัยทางด้านสัตวบาล. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ ฯ.
อนันต์ชัย เขื่อนธรรม. 2539. หลักการวางแผนการทดลอง. ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ ฯ.
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ