กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี

Law for Accounting Profession

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฏหมาย ตลอดจนนำความรู้ ความสามารถไปใช้ในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น หรือประกอบวิชาชีพ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในด้านกฏหมายเพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลง ข้อกฎหมายต่างๆ  ให้สอดคล้องกับยุคสมัย
ศึกษากฎหมายที่จำเป็นเกี่ยวกับการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายเกี่ยวกับการจัดองค์กรธุรกิจด้านนิติบุคคล พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วนที่เกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลและการออกหลักทรัพย์การเสนอขายหลักทรัพย์ การกำกับควบคุม และกฎหมายที่เกี่ยวกับการบัญชี เช่น พระราชบัญญัติการบัญชี พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี  เป็นต้น
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

                             5.  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
                             6. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
              กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบ วินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องรับผิดชอบต่อตนเอง และการทำงานเป็นกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญ องค์ประกอบของกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี  
         2.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
         2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
      2.1.4 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค
นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเอง นำความรู้ไปต่อยอดกับการเรียนในระดับที่สูงขึ้นและสามารถนำความรู้ไปประกอบวิชาชีพได้
3.2.1   การบรรยาย
3.2.2   ให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม
สอบกลางภาคและปลายภาค 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
-
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน
ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อที่ใช้ ผู้สอน 1 บทที่ 1 สัญญาซื้อขาย
สํญญาซื้อขาย สัญญาขายฝาก 3  บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 2 บทที่ 2 สัญญาเช่าทรัพย์ สัญญาเช่าซื้อ
สัญญาเช่าทรัพย์ สัญญาเช่าซื้อ 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 3 บทที่ 3 สัญญายืม
สัญญายืมใช้คงรูป สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง สัญญายืมเงิน 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 4 บทที่ 4 สัญญาฝากทรัพย์
สัญญาฝากทรัพย์ 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 5 บทที่ 5 สัญญาจ้างแรงงาน
ความหมายของสัญญาจ้างแรงงาน ความสมบูรณ์และสภาพบังคับทางกฎหมาย หน้าที่ความรับผิดของคู่สัญญา การระงับของสัญญา กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองแรงงาน 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 6 บทที่ 6 สัญญาจ้างทำของ
ลักษณะของสัญญาจ้างทำของ ความสมบูรณ์ของสัญญาและสภาพบังคับทางกฎหมาย สิทธิหน้าที่ระหว่างคู่สัญญา การระงับของสัญญา เปรียบเทียบลักษณะสัญญาจ้างแรงงานและจ้างทำของ 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 7 บทที่ 7 สัญญาค้ำประกัน สัญญาจำนอง สัญญาจำนำ
สัญญาค้ำประกัน สัญญาจำนอง สัญญาจำนำ 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 8 บทที่ 8 สัญญาตัวแทน สัญญานายหน้า
สัญญาตัวแทน สัญญานายหน้า
  3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 9 สอบกลางภาค       10 บทที่ 9 สัญญาตั๋วเงิน
ตั๋วเงิน เช็ค 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 11 บทที่ 10 ห้างหุ้นส่วน-บริษัท
ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 12 บทที่ 10 ห้างหุ้นส่วน-บริษัท
ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัดบริษัทมหาชน จำกัด 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 13 บทที่ 11 ทรัพย์สินทางปัญญา
ความหมายของทรัพย์สินทางปัญญา ลิขสิทธิ์ ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 14 บทที่ 11 ทรัพย์สินทางปัญญา
สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า ภูมิปัญญาท้องถิ่นความลับทางการค้า 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 15 บทที่ 12 สภาวิชาชีพการบัญชี
พรบ.วิชาชีพการบัญชี 2543,2547 ความเป็นมาและอำนาจหน้าที่ การจดทะเบียนการค้า จรรยาบรรณและจริยธรรมบัญชี 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 16 ทบทวนบทเรียน 3 บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ นายชัชวิน   วรปรีชา 17 สอบปลายภาค      
กิจกรรมที่ ผลการ
เรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ
การประเมินผล 1 2.1, 2.1.1, 2.1.3, 2.1.4, 3.1, 3.3 สอบกลางภาค
สอบปลายภาค 9
17 35%
35%
  2 1.3, 1.3.1-1.3.3, 2.1.2, 3.2.2, 4.1.2, 4.1.3, 4.2, 4.3.1 การทำงานกลุ่มและงานเดี่ยว
การส่งงานตามที่มอบหมาย  
ตลอดภาคการศึกษา  
 
20% 3 1.1, 1.1.1-1.1.6, 4.1.1 การเข้าชั้นเรียน
การเอาใจใส่ในห้องเรียน การเข้าชั้นเรียน
การเอาใจใส่ในห้องเรียน  
10%
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.1.1, 2.1.3, 2.1.4, 3.1, 3.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 35% 35%
2 1.3, 1.3.1-1.3.3, 2.1.2, 3.2.2, 4.1.2, 4.1.3, 4.2, 4.3.1 การทำงานกลุ่มและงานเดี่ยว การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1, 1.1.1-1.1.6, 4.1.1 การเข้าชั้นเรียน การเอาใจใส่ในห้องเรียน การเข้าชั้นเรียน การเอาใจใส่ในห้องเรียน 10%
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชี
ไม่มี
- หนังสือวิชากฎหมายธุรกิจเบื้องต้น
- หนังสือวิชากฎหมายธุรกิจ
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาผ่านระบบการประเมินของมหาวิทยาลัยฯ
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   สังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
หาข้อมูลที่ใช้สอนที่ทันสมัย และเทคนิคการสอนโดยให้นักศึกษามีส่วนร่วม
4.1 พิจารณาจากผลการ ทดสอบกลางภาคและปลายภาค
4.2 เปรียบเทียบผลการสอานกับนักศึกษากลุ่มอื่น
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ในรายวิชา