อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น

Introduction to Agro-Industry

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้ 
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเกษตร องค์ประกอบคุณลักษณะการเสื่อมเสีย การเก็บรักษาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ หลักการและวิธีการแปรรูปการควบคุมและประเมินคุณภาพ มาตรฐานและข้อกำหนดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร ภาชนะบรรจุการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และจรรยาบรรณวิชาชีพ
      มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับข่าวสารปัจจุบันด้านอาหารตั้งแต่ องค์ประกอบ คุณลักษณะการเสื่อมเสีย การเก็บรักษาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ หลักการและวิธีการแปรรูปการควบคุมและประเมินคุณภาพ มาตรฐานและข้อกำหนดผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร และ ภาชนะบรรจุการพัฒนาผลิตภัณฑ์    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร มองเห็นภาพรวมของวิทยาศาสตร์การอาหาร สามารถเชื่อมโยงความรู้และแนวคิดกับวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้เป็นอย่างดี
ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับองค์ประกอบ การเสื่อมเสีย การเก็บรักษา วิธีการแปรรูป การควบคุมและการตรวจสอบคุณภาพอาหาร (ทางเคมี กายภาพ จุลินทรีย์และประสาทสัมผัส) ของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์อาหาร ความปลอดภัยในอาหาร และการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร    Fundamental science of food: food composition, deterioration, storage conditions, processing methods, controlling and examining of food qualities (physical, chemical, microorganism and sensory) of raw materials and finish products, food packaging, food safety and food product development
วันพุธ พฤหัส เวลา 13.00 – 16.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผิอื่น
สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม และจริยธรรม ของการใช้สารเคมี หรือสารเจือปนในอุตสาหกรรมอาหาร โดยตระหนักถึงผู้บริโภคเป็นสำคัญ
นำข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบันเกี่ยวกับการมีจรรยาบรรณวิชาชีพทางเท๕โลโลยีการอาหารที่ดี หรือกรณีที่ขาดจรรยาบรรณมานำเสนอในชั้นเรียน
ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน และการแสดงความคิดเห็น แนวคิดทัศนคติของนักศึกษา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. การบรรยายให้ความรู้ด้านทฤษฎี
2. ตั้งคำถามระหว่างการสอน ให้นักศึกษาช่วยกันอภิปรายโดยใช้หลักการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1. ประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากคะแนนสอบ
3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถใช้ทักษะความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. การบรรยายให้ความรู้ด้านทฤษฎี
2. ตั้งคำถามระหว่างการสอน ให้นักศึกษาช่วยกันอภิปรายโดยใช้หลักการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
1. ประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากคะแนนสอบ
4.1  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม
4.2  สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่ม และสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
4.4  สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและทางวิชาชีพได้อย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานทั้งลักษณะงานรายบุคคล และงานทำเป็นกลุ่ม โดยกำหนดให้ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการทำงาน และระบุหน้าที่รับผิดชอบของตนเองได้
ประเมินจากกระบวนการทำงานของนักศึกษาจนได้ผลงาน ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
š5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งของมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม
5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1. สอนให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลจาก Internet และ Database ที่ต่างๆ และเลือกใช้ข้อมูลที่ถูกต้อง
2. มอบหมายงานให้นักศึกษาหาข้อมูลจากฐานข้อมูลที่ถูกต้อง และแปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิดในทางที่ถูกต้อง
ประเมินจากการรายงานการหาข้อมูลของนักศึกษา และประเมินความถูกต้อง และปริมาณการอ้างอิงจากสื่ออิเล็กทรอนิคจากข้อมูลที่นักศึกษาสืบค้นมา
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ   อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
มอบหมายงานรายบุคคล หรือรายกลุ่ม ที่มีกำหนดการส่งงาน ขอบข่ายของงานที่ต้องการอย่างชัดเจน
ประเมินจากความตรงต่อเวลาในการส่งงาน 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3
1 BSCFT001 อุตสาหกรรมเกษตรเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 . ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ จำนวนครั้งการเข้าเรียนต้องเกิน 80% - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย 1-8, 10-16 10%
2 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา การสอบรายหน่วย 9,17 70%
3 4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด การนำเสนองาน/การรายงานมอบ 1-8, 9-16 20%
Campbell-Platt, G. (2017). Food science and technology. John Wiley & Sons.
คณาจารย์ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. (2539). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อาหาร. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. คณะอุตสาหกรรมเกษตร.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 504 หน้า.
www.fda.moph.go.th
http://www.fda.gov
www.sciencedirect.com
www.ift.org/cms
www.thaifoodscience.com
www.fostat.org/index.php
www.foodsciencetoday.com
www.nfi.or.th/index.asp
www.foodfocusthailand.com/home.php
1.1  แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2  แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอนเมื่อหมดภาคการศึกษา
2.1  สาขาวิชาแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนในแต่ละรายวิชา โดยให้หัวหน้าสาขาวิชาในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน โดยการสุ่มรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา หรือ ประเมินการสอนโดยนักศึกษา หรือประเมินจากอาจารย์ผู้สอนเอง
3.1  งานทะเบียนนักศึกษาและคณะ ฯ จัดให้นักศึกษามีโอกาสประเมินการสอนของอาจารย์ทุกท่านในทุกรายวิชาที่เปิดสอน
3.2  ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาการที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย  และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย รวมถึงวิธีการสอน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
3.3 ปรับปรุงโดยเพิ่มการปูพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เช่น การคำนวณ เนื้อหาทางเคมี และปรับการสอนให้ช้าลง และสอนตั้งคำถาม ยกกรณีตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เพราะนักศึกษาใหม่ต้องการเวลาปรับตัวและมีกิจกรรมของมหาวิทยาลัยจำนวนมาก จากมคอ.5 ปีการศึกษา 2561
4.1  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ด้วยการทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาอย่างน้อย 3 คน ในรายวิชาดังกล่าว โดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาดังกล่าว หรือ ประเมินการสอนโดยนักศึกษา หรือประเมินจากอาจารย์ผู้สอนเอง
5.1  ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1 และข้อมูลจาก มคอ.5โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อพิจารณาต่อไป