เทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุดในทางวิศวกรรมไฟฟ้า

Optimization Technique in Electrical Engineering

1. เข้าใจพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับการหาค่าเหมาะสมที่สุด 2. เข้าใจฟังก์ชันวัตถุประสงค์ 3. เข้าใจการหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบดีเทอร์มินิสติค สโตคลาสติก แบบจำกัดและไม่มีข้อจำกัด 4. เข้าใจการหาค่าเหมาะสมที่สุดหลายรูปแบบ และแบบหลายวัตถุประสงค์ 5. เข้าใจการหาค่าเหมาะสมที่สุดเชิงผสม  6. ประยุกต์ใช้การหาค่าเหมาะสมที่สุดในทางวิศวกรรมไฟฟ้า 7. เห็นความสำคัญของเทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุดในทางวิศวกรรมไฟฟ้า
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับการหาค่าเหมาะสมที่สุด คำจำกัดความของ ฟังก์ชันวัตถุประสงค์การหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบดีเทอร์มินิสติค การหาค่าเหมาะสมที่สุด แบบสโตคลาสติก การหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบจำกัดและไม่มีข้อจำกัด การหาค่าเหมาะสม ที่สุดหลายรูปแบบ การหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบหลายวัตถุประสงค์การหาค่าเหมาะสมที่สุด เชิงผสม อัลกอริทึมเชิงวิวัฒนาการ ตัวอย่างการหาค่าเหมาะสมที่สุดในทางวิศวกรรมไฟฟ้า
1 ชั่วโมง
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
2.1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 2.1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 2.1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งตามล าดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อ บุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย มีความ รับผิดชอบในการเข้าชั้นเรียนและส่งงานตรงเวลา นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้น ต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้น ากลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีการสอดแทรกความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอนทุกรายวิชา โดยเน้นการสร้างส านึกในจรรยาบรรณของนักวิจัยทั้งทางวิชาการ และวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์โดยไม่กระทำการทุจริตในการสอบ รวมถึงการอ้างอิงข้อมูลในกรณีนำข้อมูลของ ผู้อื่นมาใช้
2.1.3.1 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรม 2.1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 2.1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 2.1.3.4 ประเมินจากรายงาน ผลงานวิจัยที่นักศึกษานำเสนอ
2.2.1.1 มีองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์เทคโนโลยีและ ภาษา เพื่อการประยุกต์ใช้และแก้ปัญหาในการศึกษา วิจัย สร้าง และใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในงาน วิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า 2.2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มาตรฐาน หลักการ และทฤษฎีที่ส าคัญทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อพัฒนาวิชาการ วิจัย การประยุกต์ใช้ สร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้ากับ ความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า ด้วยวิธีการที่เหมาะสม 2.2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าใน การประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริง น าไปสู่การยกระดับภาคประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศ
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของ รายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เสนอผลงานวิจัยในการประชุม วิชาการต่างๆ และเสนอบทความในวารสารทางวิชาการทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ นอกจากนี้ควร จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็น วิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
2.2.3.1 การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค 2.2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดท าตามที่ได้รับมอบหมาย 2.2.3.3 ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ 2.2.3.4 ประเมินจากการนำเสนองาน และงานวิจัย 2.2.3.5 การสอบวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ
2.3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและเป็นระบบ 2.3.1.2 สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประเมินประเด็นความส าคัญและที่มาของปัญหา ที่ใช้ในการศึกษา วิจัย สร้าง ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในงานวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า 2.3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์แยกแยะ และแก้ปัญหาทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพ วิศวกรรมไฟฟ้าได้อย่างเป็นระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการท างานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี และวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างเหมาะสม ในการพัฒนาแนวคิดริเริ่มหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้ อย่างสร้างสรรค์ 2.3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 
2.3.2.1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
2.3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงาน หน้าชั้นเรียน
2.3.2.3 ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการต่างๆ และเสนอ บทความในวารสารทางวิชาการทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาที่เกิดจากการใช้ กระบวนการแก้ไขปัญหา การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์วิจารณ์ เช่น รายงานการนำเสนอ ในชั้นเรียน รายงานผลการอภิปรายกลุ่ม การสัมมนา และการวิเคราะห์วิจารณ์ผลงานทางวิทยานิพนธ์และ การค้นคว้าอิสระ รวมถึงการประเมินผลจากการสอบ
2.4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิผล สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคม และสามารถ แสดงความคิดเห็นทางวิชาการอย่างสร้างสรรค์ 2.4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์พร้อม ทั้งแสดงจุดยืนอย่างเหมาะสมทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวก ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ บนพื้นฐานของการศึกษาและวิจัย 2.4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ทั้งของตนเองและของกลุ่ม 2.4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบในการท างานตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งของตนเองและของกลุ่ม สามารถปรับตัวและท างานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้น าและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบ 2.4.1.5 มีจิตส านึกและความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการ รักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม นำไปสู่การยกระดับภาคประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศอย่างยั่งยืน
ใช้การสอนที่มีการก าหนดกิจกรรมให้มีการท างานเป็นกลุ่ม การท างานที่ต้องประสานงาน กับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือผู้มีประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมการแสดงบทบาทของการเป็นผู้นำและผู้ตาม โดยมี ความคาดหวังในผลการเรียนรู้ดังนี้ 2.4.2.1 สามารถท างานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 2.4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 2.4.2.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็น อย่างดี 2.4.2.4 มีภาวะผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป 2.4.2.5 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.4.2.6 ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการน าเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการต่างๆ
2.4.3.1 ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี 2.4.3.2 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึก พฤติกรรมเป็นรายบุคคล 2.4.3.3 ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา 2.4.3.4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง 2.4.3.5 ใช้กลไกการประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน
2.5.1.1 มีความชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษาและวิจัย และการสร้าง เทคโนโลยีและนวัตกรรม และวิชาชีพ 2.5.1.2 มีความชำนาญในการวิเคราะห์ตัวแบบทางกายภาพ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์และสถิติด้วยเครื่องมือเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ใน การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และวิชาชีพ 2.5.1.3 มีความชำนาญในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2.5.1.4 มีความช านาญในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน การสื่อความหมาย โดยใช้สัญลักษณ์ วีดีทัศน์ และอุปกรณ์เทคโนโลยีที่สัมพันธ์กับอุตสาหกรรม 4.0 2.5.1.5 มีความชำนาญในการใช้เครื่องมือคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม ใน การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์ จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และน าเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ 2.5.2.2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และ ให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
2.5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการน าเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์ 2.5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจ ากัด เหตุผลในการเลือกใช้ เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการน าเสนอต่อชั้นเรียน 2.5.3.3 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
2.6.1.1 มีความช านาญในการบริหารจัดการองค์กร งบประมาณ เครื่องมือและอุปกรณ์ เวลาและวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.6.1.2 มีความช านาญในการวิเคราะห์ปัญหา วางแผน ออกแบบ สร้างและพัฒนา ทดสอบและวิเคราะห์ และปรับปรุงแก้ไขงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า น าไปสู่การเป็นมหาบัณฑิตนักปฏิบัติและ การยกระดับภาคประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศ
2.6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน 2.6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ 2.6.2.3 สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมไฟฟ้ากับหน่วยงานภายในและ ภายนอก 2.6.2.4 จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา 2.6.2.5 สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ
2.6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 2.6.3.2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน 2.6.3.3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ 2.6.3.4 มีการประเมินวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.2 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อ บุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 2.1 มีองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์เทคโนโลยีและ ภาษา เพื่อการประยุกต์ใช้และแก้ปัญหาในการศึกษา วิจัย สร้าง และใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในงาน วิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มาตรฐาน หลักการ และทฤษฎีที่ส าคัญทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อพัฒนาวิชาการ วิจัย การประยุกต์ใช้ สร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้ากับ ความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า ด้วยวิธีการที่เหมาะสม 2.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าใน การประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริง น าไปสู่การยกระดับภาคประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศ 3.1 สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประเมินประเด็นความส าคัญและที่มาของปัญหา ที่ใช้ในการศึกษา วิจัย สร้าง ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในงานวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า 3.2 สามารถคิด วิเคราะห์แยกแยะ และแก้ปัญหาทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพ วิศวกรรมไฟฟ้าได้อย่างเป็นระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการท างานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3.3 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี และวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างเหมาะสม ในการพัฒนาแนวคิดริเริ่มหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้ อย่างสร้างสรรค์ 3.4 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 4.1 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.2 รู้จักบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบในการท างานตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งของตนเองและของกลุ่ม สามารถปรับตัวและท างานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้น าและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.3 มีจิตสำนึกและความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม นำไปสู่การยกระดับภาคประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศอย่างยั่งยืน 5.3 มีความชำนาญในการใช้เครื่องมือคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรมใน การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง 5.1 มีความชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษาและวิจัย และการสร้าง เทคโนโลยีและนวัตกรรม และวิชาชีพ 5.2 มีความชำนาญในการวิเคราะห์ตัวแบบทางกายภาพ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์และสถิติด้วยเครื่องมือเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ใน การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และวิชาชีพ
1 MENEE603 เทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุดในทางวิศวกรรมไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
J. J. Grainger and W. D. Stevenson.  Power System Analysis.  New Jersey : McGraw-Hill, c1994. A. J. Wood and B. F. Wollenberg,  Power generation,  operation, and control.  2nd ed. New York : John Wiley & Sons, 1996. Charles A. Gross.  Power System Analysis. New York : John Wiley & Sons, c1996. W. D. Stevenson.  Element of Power System Analysis. New Jersey : McGraw-Hill, c1982. R. K. Sundaram. A First Course in Optimization Theory. Cambridge University Press, 1996. J. M. Borwein and A. S. Lewis. Convex Analysis and Nonlinear Optimization - Theory and Examples. 1999. D.P. Bertsekas. Convex Analysis and Optimization. Athena Scientific. 2003. S.S.Rao. Engineering Optimization Theory and Practice 4th Edition. John Wiley & Sons, 2009.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา  ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าภาควิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป