เคมีอาหารเบื้องต้น

Basic Food Chemistry

 
1.1  สามารถอธิบาย และจำแนกโครงสร้างองค์ประกอบของอาหารแต่ละชนิดได้
1.2  มีความเข้าใจในหลักการด้านงานวิเคราะห์องค์ประกอบของอาหาร และมีทักษะการปฏิบัติงานด้านการวิเคราะห์องค์ประกอบของอาหารได้
1.3  สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงกลไกของปฏิกิริยาที่สำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางเคมี และชีวเคมีของแต่ละองค์ประกอบของอาหาร และการแปรรูปอาหารได้
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการวิเคราะห์ทางเคมีของน้ำ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ รงควัตถุ กลิ่นรสอาหาร ระบบอิมัลชันและคอลลอยด์ตลอดจนกลไกของปฏิกิริยาเคมีที่สำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและชีวเคมีขององค์ประกอบของอาหารและการแปรรูป
-
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
 
1. อธิบายข้อปฏิบัติในการเรียนวิชาการประกันคุณภาพอาหาร เช่น การเข้าชั้นเรียน งานมอบหมาย และอื่น ๆ
2 อธิบายให้นักศึกษาตระหนักถึงจรรยาบรรณวิชาชีพนักวิทยาศาสตร์การอาหารที่ต้องประกอบวิชาชีพโดยคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค
 
1. การตรวจสอบการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา การส่งงาน โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
2. ประเมินจากการปฏิบัติตามข้อปฏิบัติในวิชาเรียน เช่น การส่งหัวข้อสัมมนา การส่งรายงานตามกำหนดเวลา การเข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอ และการซักถามในระหว่างสัมมนา
3. ประเมินจากการถามและตอบ ด้วยความเคารพสิทธิและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมทั้งการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. สอนแบบบรรยาย อธิบายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่าง และตั้งคำถาม (Questioning) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยให้นักศึกษาซักถาม และแสดงความคิดเห็น
2. มอบหมายงานให้นักศึกษารวบรวมและเรียบเรียงข้อมูล นำเสนอผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ในชั้นเรียน
1. ถาม-ตอบปัญหาในชั้นเรียน
2. ทำรายงานรายบุคคลและหรือรายงานกลุ่มเพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
3. การนำเสนองานที่ได้มอบหมายในชั้นเรียน
4. ประเมินจากการตอบคำถามจากความเข้าใจ และแสดงความคิดเห็นในการเชื่อมโยงความรู้
5. ประเมินจากความต่อเนื่องและเชื่อมโยงของเนื้อหาที่นำเสนอ
3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระตุ้นการสร้างคำถามในชั้นเรียน
2. การนำเสนองานด้วยวาจา รวมกับการอภิปรายผล พร้อมแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้บนพื้นฐานของนักวิทยาศาสตร์การอาหาร
1. การเขียนบันทึก
2. การนำเสนองาน
3. การตอบคำถามหลังการนำเสนอสัมมนา
4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1.  มอบหมายงานรายบุคคลและกำหนดระยะเวลาส่งงาน
2.  กระตุ้นการแสดงความคิดเห็นหรือการแสดงออกในชั้นเรียน
1.  ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2.  รายงานที่นำเสนอและผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม
3.  ส่งงานในเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
4.  สร้างคำถามและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสมในชั้นเรียน
5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
1. แนะนำแหล่งสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตและวารสารที่เกี่ยวข้อง
2. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website และสื่อต่าง ๆ หัวข้อทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และทำรายงานโดยเน้นการอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ โดนส่วนหนึ่งนักศึกษาจะต้องค้นคว้าจากวารสารหรือฐานข้อมูลที่เป็นภาษาอังกฤษ
3. นำเสนองานกลุ่มต่อชั้นเรียนโดยใช้รูปแบบ เทคโนโลยีและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ รวมถึงการเลือกวิธีการนำเสนอที่เข้าใจง่าย อย่างเป็นระบบ
1. ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน การนำเสนอความรู้ใหม่
2. การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ
3. การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
4. เอกสารรายงานของนักศึกษา และการสอบ
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ รวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม 2. ความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2
1 BSCFT016 เคมีอาหารเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล