หลักมูลของวิศวกรรมไฟฟ้าในงานระบบขนส่งทางราง

Fundamentals of Electrical Engineering in Railway System

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้าในงานบำรุงรักษาระบบขนส่งทางราง
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการอ่านแบบผังวงจรไฟฟ้า
3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
4. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับเบื้องต้น
5. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
6. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหม้อแปลงไฟฟ้า เครื่องจักรกลไฟฟ้า เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 
7. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้งานของระบบไฟฟ้ากำลังสามเฟส วิธีส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า
พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้าในงานบำรุงรักษาระบบขนส่งทางราง การอ่านแบบผังวงจรไฟฟ้า การใช้เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับเบื้องต้น แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟ้า เครื่องกำเนิดไฟฟ้า มอเตอร์ไฟฟ้าและการประยุกต์ใช้งานหลักการของระบบไฟฟ้ากำลังสามเฟส วิธีส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า
-  อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียน และชั่วโมงที่ไม่มีสอน  - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1.1   เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2   มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.3   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.4   สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.5   มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกี่ยวกับหลักการใช้ชีวิต - อภิปรายกลุ่ม  ร่วมกันแก้ปัญหาโจทย์  โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน - จัดกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ที่หลากหลายสามารถเข้าใจเนื้อหาได้โดยง่าย
- พฤติกรรมการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา  การแต่งกายเรียบร้อย - ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และส่งตรงต่อเวลา - การแก้ปัญหาโจทย์  แบบฝึกหัด  โดยใช้หลักวิธีคิดที่ได้ศึกษาอย่างถูกต้อง
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง - ประเมินจากการฝึกปฏิบัติงาน  กรณีศึกษา
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง - การมอบหมายงานให้นักศึกษา - ฝึกปฏิบัติตามงานที่มอบหมาย
- สอบกลางภาค และปลายภาค - วัดผลจากการประเมินผลการแก้ปัญหา - สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ 4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4.2.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี 4.2.4 มีภาวะผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป 4.2.5 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.3.1 ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี 4.3.2 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึก พฤติกรรมเป็นรายบุคคล 4.3.3 ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา 4.3.4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ 5.2.2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์ 5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน 5.3.3 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน 6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ 6.2.3 สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมเกับหน่วยงานภายในและภายนอก 6.2.4 รับปัญหาจากสถานการณ์จริง และสถานประกอบการมาแก้ปัญหา
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 6.3.2 มีการค้นคว้างานวิจัย และข้อมูลอ้างอิงประกอบการเรียนรู้ และแก้ปัญหา 6.3.3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ 6.3.4 มีการประเมินปัญหาพิเศษของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGRT004 หลักมูลของวิศวกรรมไฟฟ้าในงานระบบขนส่งทางราง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เจตคติ การเข้าเรียน และการมีส่วนร่วม ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9,17 สอบกลางภาค 25%, สอบปลายภาค 25%
3 - งานที่ได้รับมอบหมาย - การทำกิจกรรมกลุ่ม - การฝึก และทดสอบการปฏิบัติงาน ตลอดภาคการศึกษา 30%
หลักมูลของวิศวกรรมไฟฟ้า (FUNDAMENTALS OF ELECTRICAL ENGINEERING)  : สมชัย หิรัญวโรดม
เอกสารประกอบการบำรุงรักษาหัวรถจักรและขบวนรถไฟ รฟท.
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา - การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการสอนของตนเองโดยดูพฤติกรรมการเรียนและผลการสอบของนักศึกษา - ประเมินผลการปฏิบัติงาน และฝึกภาคสนาม -ประเมินจากความรับผิดชอบ และการค้นคว้าหาข้อมูลของนักศึกษา
- ประชุมผู้สอนเทอมละ 1 ครั้ง เพื่อสรุปประเด็นปัญหาเพื่อปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน - การวิจัยในชั้นเรียน
- อาจารย์มีการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมในการให้คะแนน - มีการทวนสอบการให้คะแนนในข้อสอบ รายงาน โดยอาจารย์ท่านอื่นที่สอนในรายวิชาเดียวกัน - จัดทำคลังข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชา
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ - ทำการวิเคราะห์ข้อสอบเพื่อหาค่าความยากง่าย