วิศวกรรมการบำรุงรักษา

Maintenance Engineering

1.1 เข้าใจหลักการหลักการบำรุงรักษาแบบทวีผล
1.2 เข้าใจการการตรวจสอบเครื่องจักรกล และสาเหตุของการเสื่อมสภาพ เครื่องจักรกลและอุปกรณ์
1.3 หลักสถิติในการวิเคราะห์ความเสียหายของเครื่องจักรและการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของเครื่องจักร
1.4 เข้าใจวิธีการวางแผนและการควบคุมการบำรุงรักษาวิธีการตรวจซ่อม   เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ปลอดภัย และประเมินผลการบำรุงรักษาเครื่องจักร       
1.5 ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์จัดการระบบบำรุงรักษา ตลอดจนการพัฒนาระบบการบำรุงรักษา
1.6 คำนวณเกี่ยวกับค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร
1.7 มีเจตคติที่ดีต่องานด้านการบำรุงรักษา
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวัง ซึ่งต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กำหนดในรายละเอียดของหลักสูตร โดยมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้าน ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้
 
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการบำรุงรักษาแบบทวีผล สาเหตุของการเสื่อมสภาพ เครื่องจักรและอุปกรณ์ การตรวจสอบเครื่องจักรกล การประยุกต์ใช้หลักสถิติในการวิเคราะห์สาเหตุความเสียหายของเครื่องจักร วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของเครื่องจักร การหล่อลื่น ที่ใช้ศาสตร์ TPM การบำรุงรักษาเชิงป้องกันหลักการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการตรวจสอบและเฝ้าระวัง การวางแผนและการควบคุมในงานบำรุงรักษา การบริหารจัดการเพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักร การออกแบบและจัดทำรายงานการบำรุงรักษาดัชนีการวัดสมรรถนะในงานบำรุงรักษา ความปลอดภัยในการซ่อมบำรุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ การจัดองค์กรและการบริหารทรัพยากรในงานด้านการซ่อมบำรุง การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์จัดการระบบบำรุงรักษา การพัฒนาระบบการบำรุงรักษา ตลอดจนจิตสำนึกอนุรักษ์พลังงานในองค์กร
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
รอง -เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
หลัก-มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
 
บรรยาย บอกกล่าว ยกตัวอย่าง
- ประเมินทางจิตพิสัย
- การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน                              
  - การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอื่น ๆ
รอง-มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
หลัก-มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
รอง-สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สอนโดยการบรรยาย ยกเคสตัวอย่างและวีดีโอ
-สอบกลางภาค
-สอบปลายภาค
หลัก สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ รอง สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รอง มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่าง
เหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
บรรยาย ยกเคสตัวอย่าง มอบหมายงาน
การศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และ นําเสนอรายงานในชั้นเรียน
รอง สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้ง
ส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความ
ช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ หลัก รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้ง
งานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมี
ประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสมสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความ
รับผิดชอบ
บรรยาย ยกเคสตัวอย่าง มอบหมายงาน แบ่งกลุ่มทำรายงาน
การมีส่วนร่วม
นำเสนอความคิดเห็น
ในชั้นเรียนสังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึก
พฤติกรรมเป็นรายบุคคล
รอง มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็น
อย่างดี หลัก มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ รอง สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่าง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงาน ค้นคว้า นำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
มีเทคนิคการนําเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์
-ความสามารถในการอธิบายถึงข้อจํากัด เหตุผลในการเลือกใช้
เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนําเสนอต่อชั้นเรียน
รอง มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงาน ค้นคว้า นำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
- พฤติกรรมการปฏิบัติงาน การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- นักศึกษาส่งงานในภาคปฏิบัติในเวลาที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่าง เหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้ง ส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความ ช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้ง งานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสมสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความ รับผิดชอบ มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็น อย่างดี มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่าง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
1 ENGIE114 วิศวกรรมการบำรุงรักษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การวัดความรู้ทฤษฎี สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 18 30 % 30 %
2 การวัดความรู้ทฤษฎี การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตลอดภาคการศึกษา 10 %
3 การวัดความรู้ทฤษฎี การทำแบบทดสอบท้ายหน่วย การศึกษาค้นคว้างานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
1. ผศ.ดร. สุรพล ราษฎร์นุ้ย, (2545),  วิศวกรรมบำรุงรักษา, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น
2. ไกรวิทย์ เศรษฐวนิช, (2456), บริหารอย่างไร เพื่มผลกำไรให้องค์กร, กรุงเทพฯ: สมาคส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
3. พูลพร แสงบางปลา, (2538), การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยการบำรุงรักษา TPM, กรุงเทพฯ:       สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. โกศล ดีศีลธรรม, (2547), การจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม, กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็มแอนด์อี จำกัด
 5. ผศ.ดร.สมชัย อัครทิวา และ รังสรรค์ เลิศในสัตย์, (2548), การดำเนินกิจกรรม TPM เพื่อการ  ปฏิรูปการผลิต (ฉบับอุตสาหกรรมการประกอบ), กรุงเทพฯ: พิมพ์ครั้งที่ 4 สมาคส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
6. วินัย เวชวิทยาขลัง, (2560), ระบบบำรุงรักษาเครื่องจักรเชิงปฏิบัติ, กรุงเทพฯ: พิมพ์ครั้งที่ 5  บริษัท เอ็ม แอนด์อี จำกัด
7. สุภนิติ แสงธรรม, (2560), การบำรุงรักษาเน้นความน่าเชื่อถือได้, กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็ม แอนด์อี จำกัด
8. วินัย เวชวิทยาขลัง, (2552), เทคนิคการวัดและวิเคราะห์การสั่นสะเทือนเพื่องานบำรุงรักษา, กรุงเทพฯ: พิมพ์ครั้งที่ 1 บริษัท เอ็ม แอนด์อี จำกัด
9. แสดงลักษณะ การสึกหรอแบบปฏิกิริยาไทรโบเคมี สืบค้นหา 16 มีนาคม 2565 ที่มา : https://naichangmashare.com/2020/08/15/tribology-machinery-basic/
10. การเก็บตัวอย่างน้ำมันหล่อลื่นจากอุปกรณ์เพื่อส่งไปทําการวิเคราะห์ที่ห้องแล็บ สืบค้นหา 18   มีนาคม 2565ที่มา : https://bit.ly/3JTlFpC
11. การเก็บตัวอย่างน้ำมันหล่อลื่นจากอุปกรณ์เพื่อส่งไปทําการวิเคราะห์ที่ห้องแล็บ สืบค้นหา 18   มีนาคม 2565ที่มา : https://www.facebook.com/photo?fbid=1051642984953931&set= cb.1051643248287238&locale=th_TH
12. เกณฑ์ระดับการสั่นสะเทือน ISO 10816-3 สืบค้นหา 18 มีนาคม 2565ที่มา : http://www.probitys.com/knowledge.html
13. เครื่องมือวัดการสั่นสะเทือนแบบวัดค่ารวม สืบค้นหา 18 มีนาคม 2565ที่มา : https://bit.ly/3KmyNFg
14. เครื่องมือวิเคราะห์สเปคตรัมการสั่นสะเทือน สืบค้นหา 18 มีนาคม 2565ที่มา : http://www.evertech.co.th/product/1739752/157293_1313246084
15. เครื่องมือวิเคราะห์สเปคตรัมการสั่นสะเทือน สืบค้นหา 18 มีนาคม 2565ที่มา https://thai.alibaba.com/p-detail/Optical-047598176.html?spm=a2700.details.0.0.3ce12925yUpynC
16. เครื่องวัดการสั่นสะเทือนแบบออนไลน์ สืบค้นหา 18 มีนาคม 2565ที่มา : https://naichangmashare.com/2021/12/15/ronds-wireless-vibration-temperature-monitoring-system/
17. ตัวอย่างโปรแกรมการสั่นสะเทือนแบบออนไลน์ สืบค้นหา 18 มีนาคม 2565ที่มา : https://naichangmashare.com/2021/12/15/ronds-wireless-vibration-temperature-monitoring-system/
18. เครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง (ph monitor) สืบค้นหา 20 มีนาคม 2565ที่มา : https://www.tools.in.th/product-category/ph-controllers/
19. เครื่องทดสอบด้านไตรโบโลยี Universal Mechanical Tester (UMT) TriboLab สืบค้นหา 20 มีนาคม 2565ที่มา : https://bit.ly/3nGFmt9
20. การทดสอบไตรโบโลยีแบบการขูดบนวัสดุจานหมุน สืบค้นหา 20 มีนาคม 2565ที่มา : https://bit.ly/3nGFmt9
21. การทดสอบไตรโบโลยีแบบการขัดสีแบบซ้ำไปซ้ำมา สืบค้นหา 20 มีนาคม 2565ที่มา : https://bit.ly/3nGFmt9
22. เครื่องมือวัดแรงสั่นสะเทือนของเครื่องจักรแบบพกพา สืบค้นหา 20 มีนาคม 2565ที่มา : https://www.faadtech.co.th/portable-analyzer-th/falcon-th/
23. เครื่องมือกล้องถ่ายภาพความร้อน สืบค้นหา 20 มีนาคม 2565ที่มา : https://www.faadtech.co.th/infrared-camera-th/
24. เครื่องวัดความหนาของวัตถุด้วยคลื่นอุลตร้าโซนิค สืบค้นหา 20 มีนาคม 2565ที่มา : https://bit.ly/3ZyImFe
25. การปฏิวัติอุตสาหกรรม สืบค้นหา 24 มีนาคม 2565ที่มา : https://factorium.tech/article-tpm/
26. องค์ประกอบหลักของ TPM สืบค้นหา 24 มีนาคม 2565ที่มา : https://factorium.tech/article-tpm/
27. ยุคสมัย “สั่งงานด้วยกระดาษ” สืบค้นหา 4 เมษายน 2565ที่มา : https://bit.ly/40BTu5P
28. ยุคสมัย “จัดการงานด้วย EXCEL” สืบค้นหา 4 เมษายน 2565ที่มา : https://bit.ly/40BTu5P
29. ยุคสมัย “Software” ราคาแพง สืบค้นหา 4 เมษายน 2565ที่มา : https://bit.ly/40BTu5P
30. ยุคสมัย ยุคสมัย “4G, 5G และ Digital disruption” สืบค้นหา 4 เมษายน 2565ที่มา : https://bit.ly/40BTu5P
31. ประโยชน์ในการใช้ CMMS สืบค้นหา 4 เมษายน 2565ที่มา : https://bit.ly/3nK99kF
-