เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน

Necessary Information Technology in Daily Life

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่่ายอินเทอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) 2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การละเมิดบิขสิทธิ์ ทรัพย์สินทางปัญญา ภัยคุกคามความปลอดภัยในการใช้อินเทอร์เน็ต 3. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต การใช้บริการโปรแกรมทางอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีสื่อประสมและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเบื้องต้นที่จำเป็นในปัจจุบัน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน ทันกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
ศึกษาความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ (Social Network) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กฎหมาย การกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การละเมิดลิขสิทธิ์ ทรัพย์สินทางปัญญา ภัยคุกคามความปลอดภัยในการใช้อินเทอร์เน็ต การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การใช้บริการโปรแกรมทางอินเตอร์เน็ต เทคโนโลยีสื่อประสมและการใช้โปรแกรม สำเร็จรูปเบื้องต้นที่จำเป็นในปัจจุบัน
Study definition, importance and components of information technology, internet, social network, e-commerce, computer crime law, copyright, intellectual property, internet threats and security, internet searching techniques, on-line services, multimedia technology and necessary application programs for daily life
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลสงวนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และ ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 3. มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีม 4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์ 5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต่อบุคคล องค์กร และสังคม 7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน 2. กาหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย 3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 4. มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทางาน การทางานเป็นทีม การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2. การส่งงานตามกาหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 3. การสังเกตพฤติกรรมในการทางานเป็นกลุ่ม และการมีส่วนร่วมในการนาเสนอผลงาน
1. มีความรู้ความเข้าใจ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. มีความรู้ความเข้าใจ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ พาณิชย์อิเล็๋กทรอนิกส์ 3. มีความรู้ความเข้าใจ กฎหมายการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การละเมิดลิขสิทธิ์ ทรัพย์สินทางปัญญา ภัยคุกคามความปลอดภัยในการใช้อินเทอร์เน็ต 4. มีความรู้ความเข้าใจ การสืบค้นข้อมูลทางดินเทอร์เน็ต การใช้บริการโปรแกรมทางอินเทอร์เน็ต
1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning 2. ให้แสดงความคิดเห็น ถามตอบ อภิปราย
1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2. ประเมินจากการถามตอบในชั้นเรียน และงานที่มอบหมาย
1. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็น 2. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
1. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้ารายงานตามประเด็นที่กำหนดและนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า 2. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ 3. สาธิตตัวอย่าง
1. สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 2. ประเมินจากงานที่มอบหมาย
1. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 2. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1. สอดแทรกความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย 2. มอบหมายงาน
1. ประเมินความรับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบหมาย
1. พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 2. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชันเรียน 2. ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
1. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน 2. สามารถสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
1. แสดงตัวอย่างและฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง 2. มอบหมายงานให้นักศึกษา
1. พิจารณาจากงานที่มอบหมายให้นักศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สัปดาห์ที่ 1-3 , สัปดาห์ที่ 1-6 , สัปดาห์ที่ 7-10 , สัปดาห์ที่ 7-12 สัปดาห์ที่ 1-3 ทดสอบย่อย , สัปดาห์ที่ 1-6 สอบกลางภาค , สัปดาห์ที่ 7-10 ทดสอบย่อย , สัปดาห์ที่ 7-12 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 4, 8, 11, 16 สัปดาห์ที่ 4 10% , 8 25% , 11 10% , 16 25%
2 สัปดาห์ที่ 1-16 การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 สัปดาห์ที่ 1-16 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม การถามตอบ การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การแต่งกายและความประพฤติ ตลอดภาคการศึกษา 15%
มฑุปายาส ทองมาก. (2559). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ การจัดการความท้าทายในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุทธิพันธุ์ แสนละเอียด. (2560). ติดตั้งและแก้ไขปัญหา ฉบับช่างคอมมืออาชีพ 2018. นนทบุรี:ไอดีซีฯ.
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2561). วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น
 
เว็บไซต์ทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
1. การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน 2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่าวผู้สอนและผู้เรียน
1. การสังเกตการณ์สอน 2. ผลการเรียนของนักศึกษา 3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การจัดกิจกรรมเพื่อแลกเปลี่ยน และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และการให้คะแนนพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงาน
1. ปรับปรุงเนื้อหาและรายละเอียดการสอน 2. เชิญผู้เชี่ยวชาญมาบรรยายพิเศษ